แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 58-03944
สัญญาเลขที่ 58-00-2246

ชื่อโครงการ รวมใจ สานสัมพันธ์ บ้านกุบังจามังเหนือ
รหัสโครงการ 58-03944 สัญญาเลขที่ 58-00-2246
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นฤมล ฮะอุรา
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 8 ตุลาคม 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 17 พฤศจิกายน 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายหมาด หมันดี 239 หมู่ที่7ตำบลฉลุงอำเภอเมืองสตูลจังหวัดสตูล 086-2955215
2 นางฝาตีม๊ะ พุ่มโพธิ์ 91หมู่ที่7ตำบลฉลุงอำเภอเมืองสตูลจังหวัดสตูล 080-7103141
3 นายสุริยงค์ ด่วนข้อง 210 หมู่ที่7ตำบลฉลุงอำเภอเมืองสตูลจังหวัดสตูล 0805414784

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อจัดการข้อมูลชุมชนด้านความสัมพันธ์ระหว่างกัน และศักยภาพคนในชุมชน

  1. ได้ข้อมูลผังเครือญาติและแผนที่ศักยภาพคนกุบังจามังเหนือรวม 2 ชุดข้อมูล

2.

เพื่อจัดทำแผนชุมชนด้านการส่งเสริมความสัมพันธ์ของคนทุกกลุ่มวัยในชุมชน(เด็ก-วัยรุ่น-วัยทำงาน-ผู้สูงวัย)

  1. ได้แผนชุมชนในการดำเนินงานส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างความสามัคคี 1 แผน

3.

เพื่อสร้างกลไกสภาผู้นำที่เข้มแข็งมาดำเนินงานด้านความสัมพันธ์ของชุมชน จนเกิดการขับเคลื่อน ส่งเสริม จัดกิจกรรมในการส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างความสามัคคี

  1. มีการประชุมเพื่อติดตามและวางแผนงานทุกเดือน รวม 10 เดือน
  2. มีสภาผู้นำมาประชุม ร้อยละ 80 หรือ 32 คน
  3. การประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆ ของชุมชน

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ศึกษาประวัติชุมชนi

5,800.00 40 ผลผลิต
  • เยาวชน 30คน ได้ศึกษาประวัติชุมชนจากผู้สูงอายุ
  • ได้เอกสารประวัติชุมชน 1 ชุด

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เยาวชนเกิดจิตสำนึกรักชุมชน และรู้รากเหง้าของตัวเอง
  • เพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนและผู้สูงอายุ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้สูงอายุ/ผู้นำชุมชน 4 คน

กรรมการโครงการ 10 คน

เยาวชนกลุ่มเสี่ยง 32 คน

5,800.00 5,800.00 40 46 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ชุมชนมีฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันในการดำเนินงาน และแผนที่แหล่งเรียนรู้ของชุมชนเพื่อชุมชน
  2. เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูล

ประวัติหมู่บ้าน ที่มาของชื่อหมู่บ้าน การทำมาหากินสมัยก่อน การเดินทาง การเป็นอยู่

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

1.1 ประวัติความเป็นมา เมื่อประมาณ 200 ปีมาแล้ว ชุมชนแห่งนี้ยังไม่มีผู้คนมาอาศัยอยู่ในสมัยนั้นพื้นที่แห่งนี้เป็นที่ราบลุ่มจะมีหนอง บึง อยู่มากมาย และในหนอบงบึง เหล่านี้จะเต็มไปด้วยต้นจาก ซึ่งในภามาลายูท้องถิ่นเรียกว่า “จามัง” ต่อมาเมื่อมีผู้คนมาตั้งรกรากและปลูกที่อยู่อาศัยก็ได้เรียกชุมชนนี้ว่า “กุบังจามัง” ซึ่งคำว่า “กุบัง” แปลว่า หนอง และคำว่าจามัง แปลว่า ต้นจอก และได้เรียกชื่อว่า “กุบังจามัง” มาจนถึงทุกวันนี้

1.2 อาณาเขต/ที่ตั้ง หมู่ที่ 7 บ้านกุบังจามังเหนือตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดสตูล ห่างจากศาลากลางจังหวัดสตูลระยะทาง 15 กิโลเมตรและห่างจากที่ว่าการอำเภอเมือสตูล ระยะทาง 13 กิโลเมตร มีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ หมู่ที่ 4,5 ต.ฉลุง ทิศใต้ ติดกับ หมู่ที่ 6 ต.ฉลุง ทิศตะวันออก ติดกับ หมู่ที่3,4ต.ฉลุง
ทิศตะวันตก ติดกับ หมู่ที่ 8 ต.ฉลุงและหมู่ที่ 7 ต.บ้านควน

1.3 เขตการปกครอง บ้านกุบังจามังเหนือ มีการแบ่งเขตการปกครองเป็น 2 เขต และมีชื่อเรียกตามลักษณะแต่ละ เขตพื้นที่ดังนี้ (เรียงกลุ่มใหญ่ไปหากลุ่มเล็ก) 1. กลุ่มกุบังจามัง จำนวน 228 ครัวเรือน 2. กลุ่มคลองน้ำพระ จำนวน32 ครัวเรือน

1.4 ลักษณะภูมิประเทศ
บ้านกุบังจามังเหนือ มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ เหมาะแก่การเพาะปลูกโดยเฉพาะการทำสวนยางพารา สวนผลไม้ และพื้นที่บางส่วนเป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การทำนา

1.5 ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศ มี 2 ฤดู คือฤดูร้อนและฤดูฝน โดยฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม จนถึงเดือนเมษายน และฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนธันวาคมของทุกปี

1.6 ลักษณะของประชากร บ้านกุบังจามังเหนือ มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น จำนวน 221ครัวเรือน และมีจำนวนประชากรทั้งหมด 1051 คน แยกเป็น ชาย497 คนหญิง 554 คน

1.7 การนับถือศาสนา ประชากรนับถือศาสนา อิสลาม ร้อยละ85 พุทธ ร้อยละ15

1.8 บริการสาธารณะในหมู่บ้าน 1. โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 1 แห่ง 2. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน จำนวน 1 แห่ง 3.ศาลาเอนกประสงค์ จำนวน 1 แห่ง 4. หอกระจายข่าว จำนวน 1 แห่ง 5. ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน จำนวน 1 แห่ง 6. มัสยิด จำนวน 1 แห่ง 7. อาคารเรียนตาดีกา จำนวน 1 แห่ง 8. ลานกีฬา จำนวน 1แห่ง 9. โทรศัพท์สาธารณะ จำนวน 1 แห่ง

1.9 การคมนาคม ในหมู่บ้านมีถนนที่ใช้เดินทางไปยังที่ว่าการอำเภอ เส้นทางที่ใกล้ที่สุด เป็นระยะทาง 13กิโลเมตร เส้นทางหลักเฉพาะในเขตหมู่บ้าน แยกเป็นชนิด 1. ลาดยางหรอคอนกรีต เป็นระยะทาง2,000เมตร 2. ลูกรังหรือหินคลุก เป็นระยะทาง 450 เมตร

1.10 แหล่งน้ำ 1. น้ำดื่ม – น้ำใช้ -บ่อน้ำส่วนตัว จำนวน130 บ่อ -บ่อน้ำสาธารณะ จำนวน 8 บ่อ -มีระบบน้ำประปา จำนวน0แห่ง 2. แหล่งน้ำผิวดิน
-ชลประทานคลองน้ำพระ

1.11 ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และแหล่งท่องเที่ยวของหมู่บ้าน - คลองน้ำพระ

ส่วนที่ 2 วิถีชีวิตชุมชน

2.1 ประเพณีและวัฒนธรรม/เทศกาลประจำปีและอื่น ๆ
ลักษณะความเชื่อ ค่านิยมของท้องถิ่น จะมีอิทธิพลมาจากศาสนาอิสลามเป็นหลัก ซึ่งเป็นลักษณะของแนวทางการดำรงชีวิตเป็นระบบวิถีชีวิตที่เป็นเฉพาะเท่านั้น และมีประเพณีที่สำคัญ ๆ ดังนี้ -งานวันตรุษอีดิลฟิตรี หรือที่เรียกกันว่าวันรอยออกบวช หลังจากที่ได้ถือศีลอดในเดือนรอมฎอน เป็นระยะเวลา 1 เดือน -งานตรุษอีดิลอัฎฮา หรือที่เรียกกันว่าวันรายอฮัจยี จะมีการเชือดสัตว์หรือที่เรียกกันว่ากุรบาน เพื่อแจกจ่ายและเลี้ยงอาหารแก่คนยากจนและเพื่อนบ้าน นอกจากนี้ยังมีประเพณีปฏิบัติอื่น ๆ อีกมาก เช่น งานวันขึ้นบ้านใหม่ งานโกนหัวเด็กแรกเกิด ฯลฯ ชุมชนแห่งนี้ยังคงรักษาความเป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิมในทางภาษาไว้อย่างเหนียวแน่น คือ คนมาลายู ในพื้นที่นี้นับถือศาสนาอิสลาม จะใช้ภาษามาลายูท้องถิ่นในชีวิตประจำวันซึ่งยังคงเหลือหมู่บ้านเพียงไม่กี่หมู่บ้านในจังหวัดสตูล ที่ได้อนุรักษ์ด้านภาษาไว้อย่างดี อีกทั้งการดำรงชีพในชีวิตประจำวันได้สะท้อนถึงแนวทางความเป็นมุสลิม ตามแนวทางวัฒนธรรมของคนมาลายุ เช่น การนุ่งผ้าโสร่ง การสวมหมวกขาว การกินอาหาร เป็นต้น

2.2 การประกอบอาชีพ 1. ประกอบด้านเกษตรกรรมจำนวน 139 ครัวเรือน ดังนี้ - ทำสวนยางพารา จำนวน 116 ครัวเรือน พื้นที่ 1,750 ไร่ - ทำนา จำนวน76 ครัวเรือน พื้นที่ 518ไร่ - สวนผลไม้ จำนวน28 ครัวเรือน พื้นที่48 ไร่ - ปลูกพืชไร่ จำนวน30 ครัวเรือน พื้นที่ 250 ไร่ - เลี้ยงสัตว์ จำนวน18 ครัวเรือน
2. ประกอบอาชีพรับจ้าง จำนวน75ครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็นอาชีพรับจ้างกรีดยาง 3. ประกอบอาชีพค้าขาย จำนวน25ครัวเรือน 4. ประกอบอาชีพบริการ จำนวน 21 ครัวเรือน

2.3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น - การทำขนมพื้นบ้าน
- การทำการเกษตรฤดูแล้ง - วิทยากรการใช้ภาษามาลายู

2.4 กลุ่ม/องค์กรชุมชน
2.4.1 องค์กรชุมชน 1. สภาผู้นำ บ้านกุบังจามังเหนือ 1 องค์กร 2.4.2 กลุ่มจดทะเบียน 1. กองทุนหมู่บ้าน บ้านกุบังจามังเหนือ หมู่ 7 1 กองทุน 2. กองทุนปุ๋ยเพื่อการเกษตร บ้านกุบังจามังเหนือ หมู่ 7 1 กองทุน 3. กลุ่มแม่บ้านเพื่อการผลิตบ้านกุบังจามังเหนือ 1 กลุ่ม 4. กลุ่ม ชาวสวนยาง สกย.บ้านกุบังจามังเหนือ หมู่ 7 น้ำยางสด 1 กลุ่ม 2.4.3 กลุ่มทั่วไป 1. กลุ่มทำขันหมาก 1 กลุ่ม
2. กลุ่มเยาวชน 1 กลุ่ม 3. กลุ่มผู้สูงอายุ 1 กลุ่ม-
4. กลุ่มแม่บ้าน 1 กลุ่ม

  1. ได้เยาวชนเป้าหมาย 50 คน เพื่อเตรียมกิจกรรมต่อไปโดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม

กิจกรรมหลัก : ผูกเกลอ หาพี่น้องผ่านผังเครือญาติi

18,500.00 60 ผลผลิต
  • เยาวชน 30 คนได้เรียนรู้และฝึกวิธีการเขียนผังเครือญาติโดยใช้สัญลักษณ์ต่าง วิธีการตั้งคำถาม และวิธีการวิเคราะห์สายสัมพันธ์

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เยาวชนมีความรู้ สามารถบันทึกผังครอบครัวได้โดยผ่านเครื่องมือที่ได้ฝึกอบรม
  • เยาวชนรับรู้และสนใจการทำกิจกรรมในหมู่บ้าน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

เยาวชน 50 คน กรรมการ 15 คน

18,500.00 18,500.00 60 65 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม สามารถบันทึกผังครอบครัวได้โดยผ่านเครื่องมือที่ได้ฝึกอบรม
  2. เยาวชนเริ่มตระหนักถึงการทำกิจกรรมในหมู่บ้าน
  3. ได้เยาวชนแกนนำที่มีความสนใจและพร้อมเข้าร่วมกิจกรรมต่าง

กิจกรรมหลัก : ทำแผนที่ศักยภาพของคนในชุมชนi

7,900.00 60 ผลผลิต
  • ได้แผนที่ศักยภาพของคนในชุมชน 1 แผนที่ โดยจะระบุบ้านของผู้นำศาสนา ศูนย์เรียนรู้อาชีพต่างๆ เช่นทำขนม บ้านปราชญ์ บ้านเยาวชนที่มีความสามารถเด่นด้านกีฬาผู้นำเยาวชน เป็นต้น

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เยาวชนเกิดความภูมิใจในชุมชนของตนเอง จากกาที่ได้ทราบว่าในชุมชนมีบุคคลที่มีคุณค่าด้านใดบ้าง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

เยาวชน 45 คน
กรรมการ 14 คน

ผู้ปกครอง 2 คน

7,900.00 7,900.00 60 61 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เยาวชนได้ทำกิจกรรมร่วมกัน
  2. เกิดความรักในชุมชนของตนเอง
  3. ได้แผนที่ศักยภาพของคนในชุมชน

กิจกรรมหลัก : สรุปข้อมูลผังเครือญาติi

3,900.00 20 ผลผลิต
  • เยาวชน10คนและผู้ใหญ่10คน มีความรู้และสามารถสรุปข้อมูลผังเครือญาติได้ พบว่ามีสายนามสกุลที่มีลูกหลานจำนวนมากเป็นหลักๆ ทั้งสิ้น 5 นามสกุล
  • เยาวชนได้รับทราบว่าสายนามสกุลอะไรเป็นพี่น้องกับนามสกุลอะไร
  • ได้ผังสรุปสายนามสกุลใหญ่ของชุมชน 5 ผัง

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เยาวชนกลุ่มเป้าหมาย เยาวชนทั่วไป ชาวบ้านเกิดความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จากการได้รับรู้ การอ่านผังเครือญาติ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • เยาวชน 10 คน
  • กรรมการ 10 คน
3,900.00 3,900.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เยาวชนได้ทราบถึงความสัมพันธ์เครือญาติของตน
  2. มีข้อมูลผังเครือญาติของชุมชนเพื่อเป็นฐานการเรียนรู้
  3. จากกิจกรรมได้ข้อมูลดังนี้ เนื่องจากเดิมที บ้านกุบังจามัง และบ้านกุบังจามังใต้ เป็นหมู่บ้านเดียวกัน แต่เนื่องจากการแบ่งเขตการปกครองทำให้เกิดเป็น 2 หมู่บ้าน พี่น้องส่วนใหญ่จึงถูกแบ่งแยกออกจากกัน โดยหากยึดตามข้อมูล เขตหมู่บ้านจากการ สำรวจข้อมูลคือ
  • ตระกูลบูนำและบุนำ มีจำนวน ประชากรเยอะสุด 62 คน

  • ตระกูลหมาดดีและหมันดี ตระกูลหมาดจามังเป็นตระกูลดั่งเดิมที่เข้ามาอยู่อาศัยในหมู่บ้าน แต่ส่วนใหญ่จะอยู่ในหมู่ที่ 6 บ้านกุบัจามังใต้

กิจกรรมหลัก : เวทีทำแผนชุมชนด้านการส่งเสริมความสัมพันธ์ของคนทุกกลุ่มวัยในชุมชนi

9,000.00 100 ผลผลิต
  • เยาวชน ชาวบ้านรวม 105 คน มาร่วมฟังผลการดำเนินโครงการและร่วมคิดวางแผนการทำงานต่อด้านประเด็นเด็กและเยาวชน
  • ได้แผนของชุมชนที่จะดำเนินการด้านเด็กและเยาวชน 1 แผนงานประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 5 เรื่องคือ การเล่นกีฬา การจัดค่ายจริยธรรม ทำธนาคารขยะ การฝึกอาชีพ และการบำเพ็ญประโยชน์

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ชุมชนเข้มแข็ง จากกระบวนการทำแผนร่วมกัน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ชาวบ้านกุบังจามังเหนือ 105 คน

9,000.00 9,000.00 100 105 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับความคิดเห็นของผู้ปกครองว่ามีความคิดอ่างไร
  • ได้ร่างกฏระเบียบที่สามารถบังคับใช้โดยที่ผู้ปกครองเห็นชอบ

กิจกรรมหลัก : เวทีทำมาตรการทางสังคมของหมู่บ้านi

10,600.00 200 ผลผลิต
  • ชาวบ้าน 100 คน ได้มาร่วมทำเวทีสร้างมาตรการทางสังคม 2เวที เวทีละ 50คน
  • ได้มาตรการทางสังคม 1 มาตรการ มีระเบียบจำนวน 10 ข้อ

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดข้อตกลงร่วมของชุมชน ออกมาเป็นมาตรการทางสังคม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

เยาวชนและชาวบ้าน 100 คน

5,300.00 5,300.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ร่างมาตรการทางสังคมของหมู่บ้าน เวทีที่ 1 จำนวน 7 ข้อ
  1. ใช้มาตรการทางสังคม ฮูก่มฟากัส 7 ข้อ เป็นมาตรการหลักซึ่งเกี่ยวข้องกับหลักศาสนา เกิดฮูกุมฟากัส กลุ่มบุคคลที่ได้รับมาตรการลงโทษทางสังคม

    1). สัปบุรุษที่ไม่ละหมาดญุมอัตเกินกว่า 3 ครั้งติดต่อกันน ไม่มีเหตุผล
    2). สัปบุรุษที่ไม่ถือศีลอดอย่างเปิดเผย โดยไม่มีเหตุผล

    3). สัปบุรุษที่ผลิตหรือขายหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์อย่างเปิดเผย

    4). สัปบุรุษที่เล่นการพนันเป็นอาชีพ

    5). สัปบุรุษที่ไม่ส่งลูกเรียนฟัรฎูอัยนฺ

    6). สัปบุรุษที่ผลิตหรือขาย หรือเสพสิ่งเสพติดให้โทษ

    7). สัปบุรุษชาย-หญิงที่อยู่ด้วยกันฉันสามี-ภรรยา โดยไม่นิกะหฺ

ขั้นตอนและมาตรการลงโทษทางสังคม

1). ว่ากล่าวตักเตือนด้วยวาจาอย่างน้อย 1-3 ครั้ง

2). หากไม่มีผลตามข้อ 1 จะต้องกล่าวตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร
3). ใช้มาตรการลงโทษ โดยคณะกรรมการอิสลามประจำมัสยิดจะงดร่วมกิจกรรมต่างๆที่สัปบุรุษจัดดังกล่าว ดังนี้ - งานเลี้ยงสมรส - งานเลี้ยงทั่วไป - หากเสียชีวิตจะละหมาดญานาซะไม่เกิน 3 คน

4).เมื่อกรรมการอิสลามประจำมัสยิดได้อบรมตักเตือนตามขั้นตอนครบ 6 เดือน ไม่เปลี่ยนพฤติกรรม จะถูกคัดออกจากทะเบียนมัสยิด

  • คณะกรรมการโครงการ 15 คน
  • ชาวบ้าน 92 คน
  • วิทยากร 1 คน

มาจริง 108 คน

5,300.00 5,300.00 100 108 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาในชุมชน
  • ชาวบ้านให้ความร่วมมือในการจัดการปัญหาโดยมีพื้นฐานมาจากครอบครัว
  • ได้มาตรการชุมชน1 มาตรการ มีระเบียบจำนวน 4 ข้อ

กิจกรรมหลัก : เยาวชนเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุและเรียนรู้ภูมิปัญญาi

18,750.00 50 ผลผลิต
  • เยาวชน 40 ได้มาทำกิจกรรมละลายพฤติกรรมร่วมกันเพื่อกระชับความสัมพันธ์และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  • เยาวชน 40 คน ได้เยี่ยมผู้สูงอายุในชุมชนจำนวน 8 คน
  • เยาวชน 40 คน ได้เรียนรู้ประวัติ คุณค่าของผู้สูงอายุในอดีต

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้สูงอายุกับเยาวชน และลดช่องว่างระหว่างวัย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เป็นกรรมการโครงการ 25 คน เยาวชน 25 คน

18,750.00 18,750.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เยาวชนในหมู่บ้านเริ่มตระหนักถึงการทำกิจกรรมในชุมชน

  2. ผู้สูงอายุกับเยาวชนได้ลดช่องว่างระหว่างวัย

  • ได้เยี่ยมผู้สูงอายุ ตามเป้าหมายจำนวน 65 ราย
  • โดยแบ่งตามเขตพี่เลี้ยง อสม. เป็นหลัก
  • อาวุโส ที่เข้าเยาวชนที่เข้าเยี่ยม

นายบราเหม หมาดมานัง อายุ 72 ปี อยู่บ้านเลขที่ 24 เป็นผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือกิจกรรมในหมู่บ้าน ทุกกิจกรรม เป็นหนึ่งในคณะกรรมการหมู่บ้านและยังเป็นกรรมการสภาผู้นำ

นางตีย๊ะลีมูสาอายุ 80 ปี อยู่บ้านเลขที่ 68 เป็นผู้สูงอายุที่ดูแลหลานป่วยเป็นโรคอัลซัยเมอร์

กิจกรรมหลัก : บำเพ็ญประโยชน์สัมพันธ์i

36,400.00 150 ผลผลิต
  • ทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ 2 ครั้ง
  • ครั้งแรกมีเยาวชนและชาวบ้านเข้าร่วม 170 คน โดยการพัฒนาถางหน้าที่รกสองข้างทางถนนไปคลองน้ำพระ และปลูกต้นไม้
  • ครั้งทีสอง มีเยาวชนและชาวบ้านเข้า 150 คน โดยการเก็บขยะสองข้างทางถนนในหมู่บ้าน ได้ขยะประมาณ 20 ถุงดำขนาดใหญ่

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เยาวชนเกิดความภาคภูมิใจ ในตัวเอง
  • เกิดความสัมพันธ์อันดี ลดความขัดแย้งในชุมชนจากการได้มาทำกิจกรรมดีๆร่วมกัน
  • สิ่งแวดล้อมในหมู่บ้านสะอาด สวนงาม ไม่เป็นแหล่งก่อโรค

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

เยาวชน 70 คน ผู้ปกครอง 80 คน กรรมการ 20 คน

18,200.00 18,200.00 150 170 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ชาวบ้านให้ความสนใจกับการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย
  2. พื้นที่ข้างเคียงมาเข้าร่วมกิจกรรมด้วย
  3. ชาวบ้านเรียกร้องให้มีการจัดกิจกรรมอย่างนี้อีก
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นกรรมการโครงการ 30 คน เยาวชน 70 คน พ่อแม่ผู้ปกครอง 50 คน
18,200.00 18,200.00 150 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เริ่มเวลา 13.00 น. ออกจากโรงเรียน

*โดยมีพี่ อสม. ร่วมกับตัวแทนสภาผู้นำ ครู อาจารย์ และผู้ปกครองบางส่วน เดินเก็บขยะโดยแบ่งเป็ฯ 2 ทีม

*โดยมีเด็กนักเรียนชั้น ป4-6 มาร่วมกิจกรรม

*เดินเก็บขยะ 2 ฝั่งถนน ตลอดเส้นทางในหมู่บ้านโดยเริ่มจากหน้าโรงเรียนกุบังจามังแล้วเดินไปตามเส้นทาง หมู่ 7 กลับทางหมู่ 6 มาสิ้นสุดหลังโรงเรียน

*มีข้มูอแม้ว่าให้ทุกคนมีขยะกลับไปที่โรงเรียน

*พ่อแม่รู้สึกมีความสุขที่เห็นเด็กๆออกมาทำกิจกรรม

*ผู้นำชุมชนทุกฝ่าย อยากให้มีกิจกรรมเช่นนี้และพร้อมจะสนับสนุนงบประมาณเพียงแต่ให้มีแกนนำที่รับผิดชอบโครงการอย่างจริงจังมิฉนั้นแล้วจะไม่เกิดผลลัพท์ที่น่าพอใจ

นายสุริยงค์ ด่วนข้อง ผู้ประสานโครงการฯ รู้สึกว่าการจัดกิจกรรมในรูปแบบนี้ต้องอาศัยความอดทนและต่อเนื่องเเพราะทุกกิจกรรมที่ทำครั้งแรกมักจะมีปัญหาในความเข้าใจและเกิดความสับสนทั้งผู้เสนอและผู้ปฏิบัติ อีกทั้งผู้นำและประชาชน ยึดติดรูปแบบกิจกรรมโครงการแบบเดิมที่ถือปฏิบัติกันมา

ผลที่เกิดขึ้น : นักเรียนโรงเรียนกุบังจามัง เยาวชนและผู้ปกครองได้ร่วมกันพัฒนาสองข้างทางรอบหมู่บ้าน

ผลลัพธ์ : เยาวชนและผู้ปกครองมีการทำกิจกรรมร่วมกัน ลดปัญหาช่องว่าง

ผลสรุป:ผู้นำเห็นแนวทางในการใช้กิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้ง

กิจกรรมหลัก : ถอดบทเรียนโครงการi

15,700.00 100 ผลผลิต
  • ชาวบ้าน 100คน มาร่วมเวทีรับฟังการสรุปผลการดำเนินงานโครงการและร่วมกันเสนอแนะความคิดเห็น ถอดบทเรียนโครงการ
  • ได้ข้อสรุปการถอดบทเรียนโครงการดังนี้ 1) เกิดกลไกสภาผู้นำชุมชน ที่ขยายตัวมาจากกรรมการหมู่บ้าน เกิดการมีส่วนร่วมและเข้มแข็งขึ้นทีละน้อย 2)เกิดกลไกแกนนำเยาวชนที่ช่วยกันขับเคลื่อนงานกิจกรรมโครงการ 3) เกิดการรื้อฟื้นประวัติชุมชน ส่งเสริมให้คนในชุมชนมีความภาคภูมิใจ 4)ความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนกับเยาวชน และเยาวชนกับผู้ใหญ่ดีขึ้น รู้จักกันมากขึ้น เด็กให้ความเคารพ เชื่อฟังผู้ใหญ่มากขึ้น5) ได้มาตรการทางสังคมที่ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีในชุมชน 5 ข้อ 6) ได้แผนการทำงานของชุมชนในปีถัดไป ที่มีการเน้นเรื่อง การจัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ การจัดการขยะ และการส่งเสริมความสัมพันธ์ของคนในชุมชน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ชุมชนเข้มแข็งจากการร่วมกันประเมินผลการทำงานที่ผ่านมา

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

สภาผู้นำฯ 40 คน อสม. แม่บ้าน เยาวชน  60 คน 

0.00 0.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชุมชนเรียนรู้การประเมินผลการทำงาน ว่าได้รับอะไร อะไรที่ควรดำเนินการต่อ

กรรมการโครงการ 40 คน
ชาวบ้านและเยาวชน80 คน

15,700.00 15,700.00 100 120 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้ร่วมกันวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิจารณ์ โครงการฯ ที่ทำไปแล้ว และในอนาคตถ้ามีการต่อยอดโครงการจะทำต่อหรือไม่

- คณะทำงาน รายงานผลการดำเนินโครงการทั้งหมดให้ชาวบ้านได้รับทราบ

  1. ชาวบ้านและผู้เกี่ยวข้องได้แสดงออกถึงความต้องการและข้อเสนอแนะต่อโครงการเพื่อให้ คณะทำงานได้นำไปปฏิบัติใช้ในการทำงานต่อไป
  • ผุ้ใหญ่บ้าน นายหมาดหมันดี : ดีใจที่พี่น้องให้ความร่วมมือในโครงการนี้ ทำให้โครงการลุล่วงไปด้วยดีถึงแม้ว่าเราจะทำโครงการนี้เป็นครั้งแรก ก็ตาม

  • ประธาน อาสาสมัครสาธารณสุข ฮาเลียะ กานู : ทำดีแล้ว แต่อยากให้ทำเรื่องขยะ ในปีหน้าเพราะทาง อสม.เองก็จะทำโครงการนี้จะได้มาบูรณาการกัน

  • ผู้สูงอายุ นายบราเหมหมาดมานัง :พูดเป็นภาษามลายูว่า" ก็ไม่มีอะไรแค่อยากให้พี่น้องอยู่กันอย่างนี้ ช่วยงานกัน เรื่องเล็กๆน้อยก็ให้บืมๆกันไป อย่าทะเลาะกันเพราะเราคนแก่ๆต้องเป็นตัวอย่างให้เด็กๆ

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

 

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong