แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 58-03944
สัญญาเลขที่ 58-00-2246

ชื่อโครงการ รวมใจ สานสัมพันธ์ บ้านกุบังจามังเหนือ
รหัสโครงการ 58-03944 สัญญาเลขที่ 58-00-2246
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นฤมล ฮะอุรา
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 8 ตุลาคม 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 17 พฤศจิกายน 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายหมาด หมันดี 239 หมู่ที่7ตำบลฉลุงอำเภอเมืองสตูลจังหวัดสตูล
2 นางฝาตีม๊ะ พุ่มโพธิ์ 91 หมู่ที่7ตำบลฉลุงอำเภอเมืองสตูลจังหวัดสตูล
3 นายสุริยงค์ ด่วนข้อง 210 หมู่ที่7ตำบลฉลุงอำเภอเมืองสตูลจังหวัดสตูล

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อจัดการข้อมูลชุมชนด้านความสัมพันธ์ระหว่างกัน และศักยภาพคนในชุมชน

  1. ได้ข้อมูลผังเครือญาติและแผนที่ศักยภาพคนกุบังจามังเหนือรวม 2 ชุดข้อมูล

2.

เพื่อจัดทำแผนชุมชนด้านการส่งเสริมความสัมพันธ์ของคนทุกกลุ่มวัยในชุมชน(เด็ก-วัยรุ่น-วัยทำงาน-ผู้สูงวัย)

  1. ได้แผนชุมชนในการดำเนินงานส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างความสามัคคี 1 แผน

3.

เพื่อสร้างกลไกสภาผู้นำที่เข้มแข็งมาดำเนินงานด้านความสัมพันธ์ของชุมชน จนเกิดการขับเคลื่อน ส่งเสริม จัดกิจกรรมในการส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างความสามัคคี

  1. มีการประชุมเพื่อติดตามและวางแผนงานทุกเดือน รวม 10 เดือน
  2. มีสภาผู้นำมาประชุม ร้อยละ 80 หรือ 32 คน
  3. การประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆ ของชุมชน

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต
  • แกนนำโครงการ 2-3 คน ได้เรียนรู้และเกิดทักษะการบริหารจัดการโครงการ ระบบการเงิน เอกสารการเงินที่ถูกต้อง และการทำงานแบบมุ่งผลลัพธ์

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

แกนนำโครงการมีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

  1. ฝ่ายคีย์ข้อมูล 1 คน
  2. ฝ่ายเหรัญญิก 1 คน
2,000.00 1,830.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. รับฟังการบรรยายเกี่ยวกับโครงการที่ได้จัดทำสัญญาข้อตกลงกับสสส
  2. วิทยากรบรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับรูปภาพที่ใช้ในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ในโครงการ
  3. วิทยากรแนะนำการใช้งานเว็บไซต์ http://happynetwork.org/
  4. ลงรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ โดยมีวิทยากรแนะนำการใช้งาน
  5. จัดทำแผนการดำเนินงาน ,ปฎิทินโครงการบนเว็บไซต์ http://happynetwork.org/
  6. เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดทำเอกสารสำคัญทางการเงิน
  7. วิทยากรแนะนำการบันทึกรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการทำโครงการ
  8. ให้แต่ละโครงทำแบบสรุปรายงานการใช้เงินในกิจกรรมปฐมนิเทศ

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

200.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เรียนรู้การทำรายงาน การทำบัญชี และการบันทึกกิจกรรมในเวปไซต์

คณะทำงาน

0.00 500.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินคืนเปิดบัญชี

พี่เลี้ยง ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

200.00 200.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เตรียมเอกสาร และคีย์ข้อมูลได้สมบูรณ์ขึ้นเพื่อเข้าพบ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบต่อไป

ตัวแทนโครงการ 2 คน

  1. ผู้จัดทำเอกสาร การเงิน
  2. ผู้บันทึกข้อมูล
2,000.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ตัวแทนพื้นที่ที่ได้มาพบพี่เลี้ยงได้ดำเนินการแก้ไขเอกสารตามที่พี่เลี้ยงแนะนำ

2.ตัวแทนพื้นที่โครงการมีความเข้าใจในเรื่องการสรุปเอกสารมากขึ้น

3.ได้ลงข้อมูลในเวปไซต์ได้ถูกต้อง

ตัวแทนโครงการ 2 คน

0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงให้รายงานความคืบหน้าและรายงานผลเข้าเวป

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 2 คน

2,000.00 800.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตัวแทนผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน เดินทางไปพบ เจ้าหน้าที่ ที่ สจรส. มอ. เพื่อตรวจเอกสารและปิดงวดโครงการฯ ซึ่งผลปรากฏว่า  ได้ส่งและตรวจสอบเอกสาร  รวมทั้งการคีย์ข้อมูลในเวปไซต์  ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้ทำการตรวจสอบและสรุปว่าผ่านดารตรวจสอบพร้อมให้เอกสารกลับมาให้ผู้รับผิดชอบเซ็นรับรอง

ตัวแทนโครงการ 2 คน

200.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลี้ยงสอบถามและติดตามการทำโครงการ
  • พี่เลี้ยงชี้แจงและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดผลตัวชี้วัด รายละเอียดกิจกรรมตามแผนงานที่วางไว้

แกนนำ 2 คน

200.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้สรุปกิจกรรมงวดที่ 2-3 เพื่อเพิ่มเติมและแก้ไขรายละเอียดในเวป

  1. ได้เพิ่มเติมข้อมูลที่ต้องดำเนินการให้เสร็จ เช่น รายงาน ส.3

ตัวแทนโครงการละ 2 คน

2,000.00 2,400.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับข้อมูลและทิศทางกาพัฒนาหมู่บ้าน
  • ได้เห็นผลงานของโครงการแต่ละโครงการที่นำมาเสนอผลงาน ซึ่งผลงานที่เกิดขึ้นจากการทำโครงการสามารถนำมาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์สร้างรายไ้ให้กับชุมชน
  • ได้ข้อคิดจากการฟังเสวนาจากโครงการที่ไดนำเสนอเป็นตัวอย่างบนเวที เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาโครงการของตนเองต่อไป
  • ไดรับข้อมูลและความรู้ใหม่ๆ จากกิจกรรมครั้งนั้ เข่น จากหนังสือ จากห้องเสวนาย่อย เป็นต้น

ตัวแทนสภา 2คน

200.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ตรวจเอกสารให้ถูกต้องก่อนนำส่ง สจรส

ตัวแทนโครงการ 2 คน

1,000.00 300.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้นำเอกสารที่สรุปและการรายงานผลไปเสนอต่อ สจรส.

กิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงานi

3,000.00 2 ผลผลิต
  • ได้ป้ายรณรงค์บุหรี่ 5 ป้าย
  • ได้ภาพถ่ายกิจกรรมประมาณ 100 รูป ไปจัดแสดงในชุมชน
  • ได้รายงานสรุปการทำงาน เพื่อเก็บไว้เป็นฐานข้อมูลและผลงานของชุมชน 10 เล่ม

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดการรณรงค์ลด ละ เลิกบุหรี่
  • เกิดพื้นที่ปลอดบุหรี่ ได้แก่ อาคารอเนกประสงค์ของชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

ชาวบ้านทุกคนที่สูบและไม่สูบบุหรี่

1,000.00 900.00 1,000 1,000 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชาวบ้านที่ได้เห็นป้ายปลอดบุหรี่ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและทำตามกฎเกณฑ์ คือไม่สูบบุหรี่ ตามบริเวณที่ได้ติดป้าย

ตัวแทนสภา 2 คน

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รายงานฉบับสมบูรณ์ให้แก่ชุมชน
  • ได้แนวทางในการต่อยอดโครงการของปีต่อไป

ตัวแทน2คน

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รูปถ่ายตรงตามกิจกรรม

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นายฮัสซันลีมูสา โรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

เป็นเยาวชน กำลังเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5เข้ามาช่วยมีบทบทบาทเป็นพิธีกรงานประชาสัมพันธ์ จากนั้นมาเป็นทีมทำเวปเพจ น้องมีความสามารถด้านการเป็นผู้นำ และการดูแลเวปของโรงเรียนมาก่อน ทำให้งานเวปจะเคลื่อนไปได้โดยเยาวชนในชุมชนเอง

นางฝาตีม๊ะพุ่มโพธิ 91 หมู่ที่7 ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
  • เป็นแกนนำสตรีและ อสม. มีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการทำกิจกรรมให้ได้ตามวัตถุประสงค์
  • มีความเข้าใจในการเตรียมเอกสารการเงิน ละเอียด รอบคอบ ทำเอกสารได้เรียบร้อย ถูกต้อง
  • มีความสามารถในการบริหารจัดการโครงการในการเตรียมงานและสรุปกิจกรรม
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

อาคารอเนกประสงค์บ้านกูบังจามัง

เป็นสถานที่จัดประชุมสภาทุกเดือนจนทำให้กลายเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

ขาดความเข้าใจ ทักษะในการรายงานกิจกรรมทำให้รายงานไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถสื่อสารได้ว่าทำกิจกรรมอย่างไร ได้ผลอย่างไร

ปรับแก้ตามคำแนะนำของพี่เลี้ยง

ควรรายงานหลังทำกิจกรรมทันที เพื่อพี่เลี้ยงได้ช่วยททบทวนและให้คำแนะนำได้ทัน หากมารายงานช่วงท้ายจะไม่มีเวลาปรับแก้รายงาน

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

แกนนำโครงการผู้เดินงานหลักเป็นบัณฑิตอาสาและอสม.ที่มีการทำงานร่วมกับทีมผู้ใหญ่บ้านมาก่อน ในการทำโครงการครั้งนี้มีการจัดมอบหมายงานไปแต่ละหน้าที่ มีการทำงานตามความรับผิดชอบได้ดี นับว่าเป็นการฝึกให้ผู้อื่นเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการโครงการ

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ศักยภาพในการบริหารจัดการโครงการดีขึ้นแต่ทักษะการรายงานกิจกรรมด้อยลง อาจเนื่องจากเวลาที่กระชั้น การทำงานในโอกาสต่อไปจึงควรเตรียมการ จัดแบ่งเวลาเพื่อเพิ่มคุณภาพการรายงาน

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ได้ผลลัพธ์ตามที่วางเป้าหมายได้ ได้แก่ 1) เกิดกลไกสภาผู้นำชุมชน ที่ขยายตัวมาจากกรรมการหมู่บ้าน เกิดการมีส่วนร่วมและเข้มแข็งขึ้นทีละน้อย 2)เกิดกลไกแกนนำเยาวชนที่ช่วยกันขับเคลื่อนงานกิจกรรมโครงการ 3) เกิดการรื้อฟื้นประวัติชุมชน ส่งเสริมให้คนในชุมชนมีความภาคภูมิใจ 4)ความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนกับเยาวชน และเยาวชนกับผู้ใหญ่ดีขึ้น รู้จักกันมากขึ้น เด็กให้ความเคารพ เชื่อฟังผู้ใหญ่มากขึ้น5) ได้มาตรการทางสังคมที่ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีในชุมชน 5 ข้อ ในมาตรการทางสังคมชุมชน13 ข้อ 6) ได้แผนการทำงานของชุมชนในปีถัดไป ที่มีการเน้นเรื่อง การจัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ การจัดการขยะ และการส่งเสริมความสัมพันธ์ของคนในชุมชน

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

การบริหารจัดการ ระบบการเงิน มีทีมรับผิดชอบ รับรู้ร่วมกัน ทำกิจกรรมครบ เบิกเงินครบ

2.2 การใช้จ่ายเงิน

ใช้จ่ายเงินตามสัญญาโครงการ

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงินเรียบร้อย ถูกต้อง มีให้ปรับแก้เรื่องใบเสร็จ มีการจ่ายภาษีเรียบร้อย

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

การดำเนินงานตามโครงการครบถ้วน เกิดผลลัพธ์ตามที่วางไว้ ระบบการจัดการเงินเรียบร้อยดี เอกสารการเงินถูกต้องครบถ้วน จ่ายภาษีเรียบร้อย มีข้อด้อยเรื่องคุณภาพการรายงานกิจกรรม พี่เลี้ยงให้คำแนะนำเพื่อปรับปรุปงแล้ว

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

บ้านกูบังจามัง เป็นหมู่บ้านที่ไม่เคยรับทุนมาทำการพัฒนาในภาพรวมของหมู่บ้าน เคยมีเพียงรับทุนจากแหล่งอื่นมาดำเนินกิจกรรมเฉพาะกลุ่มความสำเร็จของโครงการในช่วงแรกคือการดึงการมีส่วนร่วมจากคนในชุมชนทุกภาคส่วนเป็นอย่างดี ชุมชนให้ความสนใจโครงการเป็นอย่างมากในเวทีเปิดโครงการ เป็นพันธพสัญญาให้แกนนำโครงการดำเนินกิจกรรมมาอย่างดีต่อมา ผลการทำกิจกรรมก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นต่อชุมชน และเกิดกลไกสภาผู้นำขึ้นมาอย่างเข้มแข็ง ถึงแม้โครงการนี้มีข้อด้อยเรื่องความสมบูรณ์ของรายงานกิจกรรม แต่ผลดีที่ได้ทำโครงการมีมากว่า ควรหาทุนสนับสนุนมาดำเนินกิจกรรมเช่นนี้ต่อไป

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong