แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 57-01511
สัญญาเลขที่ 57-00-1071

ชื่อโครงการ สร้างสังคมมีสุขด้วยครอบครัวคุณภาพ
รหัสโครงการ 57-01511 สัญญาเลขที่ 57-00-1071
ระยะเวลาตามสัญญา 10 มิถุนายน 2014 - 31 กรกฎาคม 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสาวอุไรวรรณ ตันฑอาริยะ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 4 พฤษภาคม 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 10 พฤษภาคม 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายกฤษณ์ ศรีฟ้า
2 นายนิคม ลำจวน

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ

  • จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. สจรส. มอ.
  • รายงานความก้าวหน้า รายงานผลการดำเนินงานโครงการ รายงานการเงินที่สมบูรณ์

2.

เพื่อสร้างเครือข่ายให้ทุกครอบครัวได้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการสร้างสังคมมีสุข ด้วยครอบครัวคุณภาพ

จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของครัวเรือนทั้งหมด

3.

เพื่อให้ทุกครอบครัวสามารถนำหลักธรรมและแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต

จำนวนครัวเรือนที่นำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของจำนวนครัวเรือนในชุมชน

4.

เพื่อสร้างแนวทางหรือวิธีปฏิบัติที่ส่งเสริมให้ครอบครัวมีสุขภาพที่ดี มีการลด และเลิกเหล้าและบุหรี่

จำนวนครัวเรือนที่สมาชิกทุกคนในครอบครัวที่ไม่ดื่มเหล้าและสูบบุหรี่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของจำนวนครัวเรือนในชุมชน

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ปฐมนิเทศโครงการ / ส่งเสริมและติดตามโครงการในพื้นที่ร่วมกับ สสส. สจรส.i

10,000.00 2 ผลผลิต

-ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการบันทึกกิจกรรมลงในWebsite:HAPPYNETWORK.ORGพร้อมทั้งการแบ่งกิจกรรมที่กำหนดไว้ลงสู่การปฏิบัติ -ฝึกปฏิบัติการบันทึกกิจกรรม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

-กิจกรรมของโครงการได้ถูกบันทึกไว้ในwebsiteได้อย่างถูกต้องและครอบคลุม -มีปฏิทินการปฏิบัติงานของโครงการครบถ้วน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 9 ครั้ง

คณะทำงานโครงการ จำนวน 2 คน คือ
- นายประเทือง เพ็ชรขาว (เหรัญญิก)
- นายนิคม ลำจวน (เลขานุการ)

10,000.00 3,680.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานที่เข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการเข้าใจแนวทางการบริหารจัดการโครงการมากขึ้น เข้าใจแนวทางการจัดทำเอกสารการเงินโครงการ
  • สามารถลงแผนการดำเนินงานของโครงการได้ และสามารถบันทึกรายงานโครงการลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ
  • เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ
0.00 980.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • โครงการสามารถจัดทำรายงานความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1 และรายงานการเงินโครงการ งวดที่ 1 ได้อย่างถูกต้อง มีความสมบูรณ์ และสามารถจัดส่งให้กับทาง สจรส. มอ. ได้

 

0.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เบิกคืนเงินค่าเปิดบัญชี 500 บาท

  • ตัวแทนคณะทำงานที่เดินทาง คือ นายนิคม ลำจวน ตำแหน่งเลขานุการ
0.00 4,000.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สรุปผลการดำเนินการตรวจเอกสารและให้คำแนะนำของเจ้าหน้าที่ สจ.สร.ของโครงการสร้างสังคมมีสุขด้วยครอบครัวคุณภาพ ม.1 ดังนี้ 1.

รับผิดชอบโครงการหลักในเขตอำเภอคุระบุรี โครงการละ2 คน รวม4โครงการ จำนวน 8 คน 

0.00 0.00 8 8 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-มีประโยชน์ที่ทำให้ทุกกิจกรรมได้เรียนรู้ร่วมกันและได้มีการเล่าถึงวิธีแก้ปัญหาเช่นกลวิธีในการระดมมวลชน เช่น การนำปิ่นโตมาจากบ้านและรับประทานอาหารร่วมกัน  การดำเนินการกิจกรรมที่มีกลุ่มเด็กและเยาวชนในช่วงวันหยุดหรือช่วงปิดเทอม -ผู้รับผิดชอบโครงการยังไม่มั่นใจในเอกสารการเงินว่าถูกต้องหรือไม่ ซึ่งได้แนะนำทำให้เข้าใจมากขึ้น -การจัดเวทีเรียนรู้ร่วมกันทำให้แต่ละโครงการได้เล่าประสบการณ์ต่างๆให้เพื่อนได้ทราบด้วย  และได้ช่วยกันในการแสดงความคืดเห็น

กรรมการเข้าร่วมประชุมจริง 10 คน (ร้อยละ66.67)โดยประกอบด้วย กรรมการทั้งจากโครงการและกรรมการโซน โดยสรุปองค์ประกอบของกรรมการครบ

0.00 0.00 15 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.นักเรียนที่จะต้องเข้าเรียนธรรมะคือนักเรียนจากโรงเรียนบ้านบางวันซึ่งมีจำนวน 70 คน และเข้ารับการอบรมครบ ในบรรยากาศการเรียนนักเรียนให้ความสนใจดีตั้งใจฟังผู้ปกครองสนับสนุนให้เข้าเรียนเด็กและเยาวชนเชื่อฟังผู้ปกครอง นักเรียนมีอุปนิสัยอ่อนโยน .การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติในวันแม่ประชาชนให้ความสำคัญมากเนื่องจากเป็นครั้งแรกที่จัดในชุมชนทำให้ประชาชนมาร่วมมากรวมทั้งนายอำเภอก็ให้เกียรติมาเป็นประธานในพิธี และในโอกาสต่อไปจะเป็นกิจกรรมที่จะจัดในหมู่บ้านทุกปี
.การสรุปผลการสำรวจชุนชน .จัดงานวันเด็กดี 8 ประการจำนวนเด็กที่เข้าร่วมโครงการเป้าหมาย 70คน แต่มีเด็กเข้าร่วมกิจกรรม127คนซึ่งมากกว่าเป้าหมายที่วางไว้เนื่องจากมีเด็กจากโรงเรียนนอกพื้นที่ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมด้วย
.การบวชเณรภาคฤดูร้อนเป็นกิจกรรมเพิ่มเติมที่ต่อเนื่องจากการสอนธรรมะในโรงเรียนผู้ปกครองให้ความสำคัญที่จะให้บุตรหลานได้ศึกษาธรรมะเพิ่มมากขึ้น .สำหรับกิจกรรมในงวดที่2ผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินการครบตามกิจกรรมที่วางไว้และมีบางกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อชุมชนและจะมีการสานต่อในปีถัดไป เช่น กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติในวันแม่ และ การบวชเณรภาคฤดูร้อน เป็นต้น

คณะกรรมการมีความหลากหลาย ครอบคลุมองค์ประกอบทั้ง3ส่วน คือ คณะกรรมการ แกนนำชุมชน และ ผู้แทนโซน

0.00 0.00 10 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

 

ตัวแทนครัวเรือน - ผู้นำชุมชน - คณะครู - คณะกรรมการ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมประชุม 60 คน (ร้อยละ 26.55)ทั้งนี้เนื่องจากในวันดังกล่าวได้มีมรสุมทำให้ฝนตกหนักการเดินทางลำบาก แต่อย่างไรก็ตามจะนำผลการสรุปปิดโครงการชี้แจงใหม่อีกครั้งในที่ประชุมหมู่บ้านในเดือนหน้า

0.00 0.00 226 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

.ค้นพบว่าในชุมชน มีสิ่งดีๆมากมาย เช่น การนำหลักศาสนามาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ มีภูมิปัญญาของชุมชน มีประเพณีวัฒนธรรมในด้านต่าง ๆที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์และถ่ายทอดมาสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน และผู้นำที่มีความเสียสละและปกครองด้วยความเป็นธรรม
- จากการดำเนินงานได้เริ่มต้นจากสถาบันครอบครัว เนื่องจากมองเห็นว่าครอบครัวเป็นสถาบันที่สำคัญที่สุดต่อการพัฒนาให้บุคลกรในครัวเรือนดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและอบอุ่นกิจกรรมที่ได้ดำเนินการมีผลต่อคุณภาพที่ดีของครอบครัวและนอกจากนี้ได้ร่วมเรียนรู้กับชุมชนต้นแบบ ณ จังหวัดพัทลุง และจังหวัดตรัง ด้านเศรษฐกิจพอเพียง และชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และสามารถนำมาต่อยอดในการพัฒนาหมู่บ้านต่อไป -หลังจากปิดโครงการชุมชนมีความเห็นร่วมกันที่จะดำเนินการต่อเนื่องในกิจกรรม
1. กิจกรรมสานสัมพันธ์พ่อแม่ลูกในครัวเรือน และ ครัวเรือนต่อครัวเรือนในโซนต่าง ๆ ผ่านกิจกรรมกีฬาของหมู่บ้าน 2. กิจกรรมศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละโซน 3. กิจกรรมบุคคลต้นแบบที่จะต้องมีการพัฒนาต่อยอด ให้ชุมชนและนักเรียนเข้าไปศึกษาหาความรู้ 4. กิจกรรมบ่มเพาะต้นกล้ามนุษย์ สร้างคนดีที่มีความกตัญญูต่อผู้ที่มีพระคุณ 8 ด้าน โดยทำดีตอบแทนในแต่ละด้าน และการสอนธรรมะในโรงเรียน 5. กองทุนเงินออมกลุ่มสัจจะของชุมชน 6. จัดกิจกรรมวันแม่ วันพ่อ ในชุมชน รวมทั้งนิทรรศการของโซนต่าง ๆ ที่ได้ดำเนินการเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง

  • นายนิคม ลำจวน เลขานุการโครงการ
  • นางสาวเมทณี สุขศรีนวล เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ
0.00 4,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • รายงานการเงินโครงการได้รับการตรวจสอบ และแก้ไขให้มีความถูกต้อง
  • รายงานผลการดำเนินงานโครงการได้รับกการตรวจสอบ ปรับแก้ เพิ่มเติมข้อมูลจนมีความสมบูรณ์
  • สามารถจัดทำรายงาน ง1 งวด 2 และ ง2 ได้เสร็จ

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมการจัดทำป้ายโครงการปลอดบุหรี่i

1,000.00 0 ผลผลิต

ได้จัดทำป้ายโครงการปลอดบุหรี่1ป้าย


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

นำป้ายโครงการปลอดบุหรี่ติดประชาสัมพันธ์ไว้ที่ศาลาหมู่บ้านซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางของหมู่บ้าน อยู่ใกล้โรงเรียน ประชาชนและนักเรียนที่ผ่านไปมาสามารถมองเห็นได้อย่างสะดวก

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงานโครงการ

1,000.00 600.00 6 6 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เพื่อให้พื้นที่การจัดทำโครงการ สสส.ของโครงสร้างสังคมมีสุขด้วยครอบครัวคุณภาพ ม.1 บางวัน ไว้เป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ คือศาลาประชุมหมู่บ้าน หรือสถานที่จัดประชุมต่างๆ

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมจัดทำรายงานโครงการ / ค่าภาพถ่ายกิจกรรมi

2,000.00 0 ผลผลิต

สรุปผลงานในงวดที่2


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

รายงานการสรุปปิดโครงการงวดที่2ได้ถูกต้องและครอบคลุม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม

  1. นายกฤษ ศรีฟ้า
  2. นายนิคม ลำจวน
  3. นายประเทือง เพ็ชรขาว
  4. นายยงยุทธ โดยดี
  5. นายประสิทธิ์ สังข์ขาว
  6. นางอัมพร ศรีประเสริฐ
  7. นายรวย รอดประชุม
  8. นายสถิตย์ ศรีฟ้า
  9. นายดำ ศรีประเสริฐ
  10. นายนิตย์ จันทำ
  11. นายก้อง ศรีฟ้า
  12. นายสมใจ บุญเสริม
2,000.00 3,000.00 12 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จัดทำรายงานกิจกรรมทั้งหมดลงในเวบไซต์
  • จัดส่งรูปถ่ายกิจกรรม
  • สรุปค่าใช้จ่ายรายรับรายจ่าย
  • สรุปหลักฐานการเงินให้ครบถ้วนสมบูรณ์
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีการมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบหลัก คือ นายนิคมลำดวน ในการจัดทำรายงานและรวบรวมเอกสารทางด้านการเงินให้ถูกต้องและบันทึกกิจกรรมลงในwebsiteคนใต้สร้างสุขให้ครบถ้วน รวมทั้งติดตามงานให้เป็นไปตามแผน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ผู้ที่ได้รับมอบหมายมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ ปฏิบัติงานได้ตามกำหนดเวลาและควบคุมกำกับให้งานเป็นไปตามแผน

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

มีผลลัพธ์จากการปฏิบัติงานชัดเจนงานดำเนินการได้ตามแผนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมครอบคลุมตามที่กำหนดและที่ปฏิบัติจริงได้มีกลุ่มเป้าหมายเกินกว่าที่กำหนดไว้

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

เอกสารและหลักฐานครบถ้วน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

เป็นไปตามกิจกรรมและการจ่ายเงินมีความเหมาะสม

2.3 หลักฐานการเงิน

ครบถ้วน

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

ไม่มีความเสี่ยงในด้านการใช้จ่ายเงิน เนื่องจากมีความเหมาะสมสอดคล้องกับกิจกรรมและเก็บหลักฐานต่างๆได้ครบถ้วน

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

-เด็กและเยาวชนในหมู่บ้านได้รับการอบรมในด้านจริยธรรมและประวัติในทางพระพุทธศาสนา โดยการเรียนธรรมะในโรงเรียนทุกสัปดาห์รวมทั้งได้ร่วมกลุ่มในการทำกิจกรรมความดีการศึกษานอกสถานที่ซึ่งมีข้อดี คือ ได้เห็นการปฏิบัติจริงเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้กับเด็ก -เด็กและเยาวชนชายได้เรียนรู้หลักธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนาและขัดเกลานิสัยในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน เป็นการสร้างความปลื้มปิติให้กับพ่อแม่และผู้ปกครอง -มีการคัดเลือกบุคคลต้นแบบตามบริบทของบ้านบางวัน ซึ่งเป็นความเห็นร่วมจากการสำรวจบ้าน และนำข้อมูลมาจัดกลุ่มเป็นการค้นหาการทำดีของครัวเรือนในหมู่บ้านและมีการยกย่องโดยให้คนอื่นๆในหมู่บ้านได้รับทราบในที่ประชุมหมู่บ้าน -กรรมการได้มีการประชุมทุกเดือน ทำให้มีการวางแผนการดำเนินการตามโครงการได้ต่อเนื่องและสามารถแก้ปัญหาได้อย่างทันท่วงที

สร้างรายงานโดย อุไรวรรณ ตันฑอาริยะ