แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 57-01511
สัญญาเลขที่ 57-00-1071

ชื่อโครงการ สร้างสังคมมีสุขด้วยครอบครัวคุณภาพ
รหัสโครงการ 57-01511 สัญญาเลขที่ 57-00-1071
ระยะเวลาตามสัญญา 10 มิถุนายน 2014 - 31 กรกฎาคม 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นส.อุไรวรรณตันฑอาริยะ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายสักดิ์ชาย เรืองศรี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 21 พฤษภาคม 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 12 กรกฎาคม 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายกฤษณ์ ศรีฟ้า
2 นายนิคม ลำจวน
3 นายประเทือง เพ็ชรขาว

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ

  • จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. สจรส. มอ.
  • รายงานความก้าวหน้า รายงานผลการดำเนินงานโครงการ รายงานการเงินที่สมบูรณ์

2.

เพื่อสร้างเครือข่ายให้ทุกครอบครัวได้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการสร้างสังคมมีสุข ด้วยครอบครัวคุณภาพ

จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของครัวเรือนทั้งหมด

3.

เพื่อให้ทุกครอบครัวสามารถนำหลักธรรมและแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต

จำนวนครัวเรือนที่นำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของจำนวนครัวเรือนในชุมชน

4.

เพื่อสร้างแนวทางหรือวิธีปฏิบัติที่ส่งเสริมให้ครอบครัวมีสุขภาพที่ดี มีการลด และเลิกเหล้าและบุหรี่

จำนวนครัวเรือนที่สมาชิกทุกคนในครอบครัวที่ไม่ดื่มเหล้าและสูบบุหรี่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของจำนวนครัวเรือนในชุมชน

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมการจัดทำป้ายโครงการปลอดบุหรี่i

1,000.00 0 ผลผลิต

จัดทำป้ายปลอดบุหรี่จำนวน 1 ป้าย


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การติดตั้งไว้ในสถานที่ของศาลาหมู่บ้าน ซึ่งเป็นศูนย์กลางของหมู่บ้าน ประชาชนที่ผ่านไปมามองเห็นได้สะดวก

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงานโครงการ

1,000.00 600.00 6 6 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เพื่อให้พื้นที่การจัดทำโครงการ สสส.ของโครงสร้างสังคมมีสุขด้วยครอบครัวคุณภาพ ม.1 บางวัน ไว้เป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ คือศาลาประชุมหมู่บ้าน หรือสถานที่จัดประชุมต่างๆ

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมจัดทำรายงานโครงการ / ค่าภาพถ่ายกิจกรรมi

2,000.00 0 ผลผลิต

รายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 1 ฉบับ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

รายงานได้มีการสรุปผลการดำเนินงานตั้งแต่เริ่มโครงการจนปิดโครงการโดยละเอียด รวมกิจกรรมที่มีการดำเนินงานทั้งสิ้น 65 กิจกรรม เป็นโครงการที่มีกิจกรรมเยอะมากแต่สามารถดำเนินการได้ครบถ้วนทุกกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม

  1. นายกฤษ ศรีฟ้า
  2. นายนิคม ลำจวน
  3. นายประเทือง เพ็ชรขาว
  4. นายยงยุทธ โดยดี
  5. นายประสิทธิ์ สังข์ขาว
  6. นางอัมพร ศรีประเสริฐ
  7. นายรวย รอดประชุม
  8. นายสถิตย์ ศรีฟ้า
  9. นายดำ ศรีประเสริฐ
  10. นายนิตย์ จันทำ
  11. นายก้อง ศรีฟ้า
  12. นายสมใจ บุญเสริม
2,000.00 3,000.00 12 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จัดทำรายงานกิจกรรมทั้งหมดลงในเวบไซต์
  • จัดส่งรูปถ่ายกิจกรรม
  • สรุปค่าใช้จ่ายรายรับรายจ่าย
  • สรุปหลักฐานการเงินให้ครบถ้วนสมบูรณ์

กิจกรรมหลัก : จัดประชุมเพื่อชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการ สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ชี้้แจงทำความเข้าใจในโครงการi

19,306.00 226 ผลผลิต

มีผู้เข้าร่วมประชุมจริง 60 คน (ร้อยละ 26.55 ของเป้าหมาย)


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

-ประชาชนเดินทางเข้าร่วมประชุมลำบากเนื่องจากมรสุมเข้า ทำให้ฝนตกหนักแต่จะมีการสรุปผลการดำเนินงานให้ประชาชนได้ทราบอีกครั้งในที่ประชุมหมู่บ้านในเดือนหน้า -การสรุปโครงการมีความครอบคลุมกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ซึ่งประชาชนมีความเข้าใจเป็นอย่างดีเนื่องจากได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆอยู่แล้ว -ประชาชนเห็นประโยชน์จากการจัดกิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งได้มีความประสงค์ให้บางกิจกรรมยังคงอยู่ รวม 6 กิจกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความรักความผูกพันธ์ภายในครอบครัวการดำรงชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการมีสวัสดิการชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 7 ครั้ง

  1. ตัวแทนครอบครัว
  2. ผู้นำชุมชนหมู่บ้าน
  3. ผอ.โรงเรียนบ้านบางวัน
  4. ตัวแทน รพสต.บางวัน
  5. ปราชญ์ชาวบ้าน
  6. สมาชิก อบต.บางวัน
  7. ตัวแทนกลุ่มต่างๆ ในชุมชน
  8. ผู้สูงอายุ

รวมทั้งหมดจำนวน 100 คน

19,306.00 0.00 86 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เริ่มประชุม เวลา 09.00 น. 1.นายรวย รอดประชุม ได้กล่าวเปิดประชุม วันนี้มีหลายเรื่องที่จะต้องพิจารณาและทุกคนได้ทราบ โดยวันนี้จะขอเริ่มจากหัวข้อแรกที่สำคัญก่อน คือ โครงการสร้างสังคมมีสุขด้วยครอบครัวคุณภาพ ม.1 บ้านเรา โดยจะให้ทางคุณกฤษ ศรีฟ้า ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้ชี้แจง 2.นายกฤษ ศรีฟ้า ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจง ดังนี้ ก่อนอื่นขอแนะนำโครงการสร้างสังคมมีสุขด้วยครอบครัวคุณภาพ ม.1 ดังนี้  โครงการนี้เป็นโครงการที่ได้รับพิจารณาสนับสนุน 1 ใน 4 โครงการของจังหวัดพังงา ถือว่าเป็นเป็นโครงการที่สำคัญยิ่ง เพราะกว่าจะได้รับการสนับสนุนจะต้องเสนอโครงการกันอย่างดี ดังนั้นจึงขอให้ทุกคนได้พิจราณาโครงการนี้ด้วย ซึ่งจะขอแนะนำคณะกรรมการโครงการมีดังนี้ นายรวย รอดประชุม เป็นผู้นำชุมชนได้รับรู้โครงการ 1.นายกฤษ ศรีฟ้า เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ 2.นายประเทือง เพ็ชรขาว เป็นเหรัญญิก 3.นายยงยุทธ โดยดี เป็นประชาสัมพันธ์ 4.นายประสิทธิ์ สังข์ขาว เป็นปฏิคม 5.นายนิคม ลำจวน เป็นเลขานุการ 6.นางอัมพร ศรีประเสิรฐ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ และในวันนี้จะขอแนะนำพี่เลี้ยงโครงการที่จะคอยมาให้คำแนะนำช่วยเหลือ คือ คุณอุรวรรณ ตัณฑอริยะ นักวิชาการชำนาญพิเศษสาธารณสุขจังหวัดพังงา 3.คุณอุไรวรรณ ตัณฑอริยะ ได้กล่าวในที่ประชุม ถึงความสำคัญของโครงการ และให้ทุกคนได้เชื่อมั่นว่า โครงการนี้มีประโยชน์ต่อชุมชนอย่างไร 4.คุณกฤษ ศรีฟ้า ได้กล่าวถึงแผนงานของโครงการฯ มีทั้งหมด 9 กิจกรรมหลัก ดังน้ กิจกรรมที่ 1. -จัดประชุมเพื่อชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการ สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ชี้แจงทำความเข้าใจในโครงการ
-และแบ่งชุมชน ออกเป็น 4 โซน พร้อมทั้งคัดเลือกตัวแทนโซนละ 2 ท่าน เพื่อจัดตั้งแกนนำร่วมกับกรรมการ กิจกรรมที่ 1. -จัดประชุมเพื่อชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการ สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ชี้แจงทำความเข้าใจในโครงการ
-และแบ่งชุมชน ออกเป็น 4 โซน พร้อมทั้งคัดเลือกตัวแทนโซนละ 2 ท่าน เพื่อจัดตั้งแกนนำร่วมกับกรรมการ กิจกรรมที่ 2. 1.จัดประชุมทุกๆเดือนเพื่อติดตามกิจกรรมที่ทุกเครือข่ายได้ปฏิบัติ โดยตั้งคณะทำงานคอยติดตามกิจกรรมและรายงานในที่ประชุมทุกเดือน 2. สรุปและประเมินผลการปฏิบัติ กิจกรรมที่ 3. -ประชุมคณะกรรมการและแกนนำโซน เพื่อกำหนดแบบฟอร์มการเก็บข้อมูลที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน รวมทั้งวางแผนขั้นตอนการจัดเก็บ -ประชุมชี้แจงเยาวชนอาสาเก็บข้อมูลจนเป็นที่เข้าใจตรงกันและออกจัดเก็บข้อมูลชุมชน กิจกรรมที่ 4.
-ประชุมคณะกรรมการและกลุ่มภูมิปัญญา 7 ด้านในชุมชนเพื่อกำหนดกรอบการทำงานและรูปแบบกิจกรรมต่างๆที่จะนำไปปฏิบัติในการพัฒนาครัวเรือนในด้านต่างๆตามที่กำหนด -จัดทำฐานข้อมูลชุมชน แผนที่ครอบครัวชุมชนและครัวเรือนแกนนำ กิจกรรมที่ 5. -ประชุมทีมแกนนำและคณะกรรมการเพื่อกำหนดกิจกรรมที่ครอบครัวซึ่งประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก มีการทำกิจกรรมร่วมกัน -รับสมัครครัวเรือนที่มีความพร้อมในการร่วมกิจกรรม โดยการจัดกีฬาชุมชนสัมพันธ์ เพื่อเชื่อมความรักความสามัคคี สมานฉันท์ จัดกิจกรรมกีฬาที่เป็นกีฬาพื้นบ้าน สำหรับผู้สูงอายุ เช่น ตีปี๊บ สำหรับวัยกลางคน เช่น วิ่งกระสอบ สำหรับเด็กและเยาวชน เช่น ฟุตซอล วิ่งเปี้ยว มีกิจกรรมเชียร์ โดยแยกสีตามโซนชุมชนที่กำหนดไว้ -จัดกิจกรรมให้ครัวเรือนมีการทำกิจกรรมร่วมกัน -จัดเก็บข้อมูลเพื่อประเมินครัวเรือนที่มีการทำกิจกรรมร่วมกัน กิจกรรมที่ 6. -จัดกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นใน 7 ด้าน จำนวน 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 1.ด้านลดรายจ่ายจากอบายมุข
2.การเพิ่มรายได้ครัวเรือน
3.การอดออม กลุ่มที่ 2
1.การนำหลักธรรมมาใช้ในการดำเนินชีวิต 2.ด้านความกตัญญูรู้คุณ กลุ่มที่ 3 1.การสร้างความรัก ความอบอุ่นในครัวเรือน
2.ด้านการดูแลรักษาสุขภาพ
-ครัวเรือนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นใน 7 ด้าน ไปปฏิบัติ -สำรวจบ้านเพื่อให้ทราบจำนวนครัวเรือนที่มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นไปปฏิบัติ กิจกรรมที่ 7. กิจกรรมธรรมะในโรงเรียนโดยการอบรมธรรมให้แก่เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบางวันทุกวันจันทร์ กิจกรรมที่ 8. -ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชนร่วมจัดกิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิก เหล้าและบุหรี่ โดยการให้ความรู้แก่นักเรียนให้ทราบถึงพิษภัยของการดื่มเหล้า และการสูบบุหรี่ และเด็กเป็นสื่อในการนำความรู้เพื่อกระตุ้นให้ครอบครัวเห็นความสำคัญที่จะทำให้พ่อ แม่ เลิกเหล้าและบุหรี่ได้ -สำหรับในชุมชนจัดกิจกรรมรณรงค์ลด ละ เลิก เหล้าและบุหรี่เพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้มีความตระหนัก ในช่วงเทศกาลสำคัญต่างๆ -สำรวจครอบครัวที่ไม่ดื่มเหล้าและสูบบุหรี่ การบริหารจัดการโครงการ กิจกรรมที่ 9. -สรุปและเมินผลโครงการ -ถอดบทเรียน -ทำเอกสารสรุปและรายงานผลโครงการ -ชี้แจ้งผลการดำเนินโครงการให้คนในชุมชนรับทราบ จำนวนงบประมาณทั้งสิ้น 199,931 บาท ซึ่งในแต่ละกิจกรรมงบประมาณตามเอกสารที่แจกให้และบอร์ดประชาสัมพันธ์ ที่ประชุม ลงมติเห็นชอบที่จะดำเนินการร่วมกัน  โดยกิจกรรมแรก คือกิจกรรมที่จะดำเนินการในวันนี้ คือ จะแบ่งชุมชนออกเป็น 4 ชุมชน โดยให้นายรวย รอดประชุม ได้ชี้แจง 5.นายรวย รอดประชุม ได้ชี้แจงว่า การแบ่งชุมชนออกเป็น 4 กลุ่ม ไม่ใช่เป็นการแตกแยก แต่จะเป็นประโยชน์ในการบริหารจัดการในเรื่องต่างๆ ได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ขอให้ทุกคนได้เข้าใจ ดังนี้ กลุ่ม 1 ตั้งแต่ถนนเพชรเกษมฝั่งซ้ายจากเขตแดนตะกั่วป่าจนบ้านน้องปลา (สิทธิ์) และในซอยจนถึงบ้านป้านุ้ย กลุ่ม 2 ตั้งแต่ถนนเพชรเกษมฝั่งขวาจากเขตแดนตะกั่วป่าจนบ้านครูโน กลุ่ม 3 สองฝั่งถนนเพชรเกษม จากบ้านครูโนและปลาจนถึงโค้งศรราม กลุ่ม 4 ตั้งแต่บ้าน อบต.ยุทธ ในเหมืองทั้งหมด
ที่ีประชุมรับทราบ และจะดำเนินการลงไปประชุมเพื่อคัดเลือกประธานโซนในพื้นที่คณะกรรมการจะกำหนดอีกครั้ง

ผู้ใหญ่บ้าน  ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น  ผู้นำศาสนา และตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชน  เช่น  รพ.สต.  กลุ่มผู้สูงอายุ  เก็กและเยาวชน  แม่บ้าน 

19,306.00 0.00 86 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการรวมกลุ่มและแบ่งหน้าที่รับผิดชอบกันอย่างชัดเจน 2.มีการกำหนดแผนการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  1. ตัวแทนครัวเรือน กลุ่ม 1 จำนวน 30 คน
  2. ผู้นำชุมชน จำนวน 5 คน
  3. คณะทำงาน จำนวน 5 คน
0.00 3,196.00 30 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผลสรุปของกิจกรรมการประชุมได้ตัวแทนคณะกรรมการกลุ่ม 1 ดังนี้ 1. นายสมใจ บุญเสริม (ประธาน) 2. นายศักดิ์ชาย จรมาศ
3. นางสาววาสนา ขาวสุด
4. นายวิเชษฐ์ ปานเวช
5. นายวันชัย ศีรษะใหญ่
6. นายชัชวาลยื สร้อยแสง 7. นางสกุลรัตน์ ศรีฟ้า
2.นำเสนอกิจกรรมการแข่งขันกีฬาชุมชนในวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 

กลุ่มเป้าหมาย 1.ตัวแทนครัวเรือนภายในกลุ่ม 3 2.คณะทำงานโครงการ
3.ผู้นำชุมชน

0.00 2,330.00 30 26 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ที่ประชุมได้เสนอชื่อ นายประสิทธิ์ สังขาว ซึ่งเป็นบุคคลที่สมควรให้เป็นประธานเพราะมีความสามารถ ที่ประชุมเห็นชอบการยกมือสนับสนุน ส่วนรองประธาน 2 คน ที่ประชุมเสนอนายอำนาจ เติมศักดิ์ และนายธวัชชัย พรมแก้ว ที่ประชุมเห็นชอบ สรุปตัวแทนกลุ่ม 3 มีดังนี้ 1.นายประสิทธิ์ สังข์ขาว เป็นประธานกลุ่ม 2.นายอำนาจ เติมศักด์ เป็นรองประธาน 1 3.นายธวัชชัย พรมแก้ว เป็นรองประธาน 2 2.ที่ประชุมได้รับทราบจากปรธานที่ประชุมถึงแผนงานกิจกรรมต่อไป คือ กิจกรรมการแข่งขันกีฬาชุมชน โดยกำหนดการไว้น่าจะเป็นวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 2557 นี้
3.เรื่องอื่นๆ ไม่มี

1.ตัวแทนครัวเรือนที่อยู่ในกลุ่ม 2 2.คณะทำงานโครงการ 3.ผู้นำชุมชน

0.00 2,890.00 30 33 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปในการประชุมกลุ่ม 2 ได้ดังนี้ 1.ที่ประชุมได้ทำการคัดเลือกคณะกรรมการกลุ่ม 2 คือ นายก้อง (หมี)  ศรีฟ้า เป็นประธาน นางติ๋ม คงหมุน รองประธาน 1 นายพรศิริ (โอม) อุดป้อม รองประน 2 2.ประธานในที่ประชุมได้แจ้งถึงกิจกรรมที่ดำเนินการต่อไป คือ การแข่งขันกีฬาภายในชุมชน กำหนดไว้ประมาณ 12 สิงหาคมนี้ โดยจะเริ่มประชุมตัวแทนกลุ่มต่างๆ อีกครั้ง 3.เรื่องอื่นๆ ไม่มี

  1. ตัวแทนครัวเรือน ๆ ละ 1 คน
  2. คณะทำงาน
  3. ปราชญืชาวบ้าน
  4. ผู้นำชุมชน
0.00 4,170.00 30 49 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การประชุมตัวแทนครัวเรือนของกลุ่มชุมชนที่ 4 บ้านในเหมืองท้ายราง ได้คัดเลือกคณะกรรมการได้ดังนี้

  1. นายนิตย์ จันทำ  ประธาน
  2. นายอุดร บุญเสริม รองประธาน
  3. นายสุทน หินเพ็ญ กรรมการ
  4. นายคณิต จงไรจักร์ กรรมการ

1.ผู้นำชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน / ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 2.สมาชิก อบต.บางวัน คือ นายยงยุทธ โดยดี นายประเทือง เพ็ชรขาว 3.ผู้สูงอายุ 4.ประธานประชาคมหมู่บ้าน นายนิคม ลำจวน 5.ตัวแทนครัวเรือน

0.00 0.00 150 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เนื้อหาสำคัญของการประชุม "การตระเตรียมงานกิจกรรมวันแข่งขันกีฬาชุมชน 11 สิงหาคม 2557 และกิจกรรมวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม" สรุปได้ดังนี้ 1.ประธานในการเปิดกิจกรรมในครั้งนี้ ทางผู้ใหญ่บ้านนายรวย รอดประชุมได้นำเรียนนายอำเภอคุระบุรี มาเป็นเป็นประธาน
2.เรียนเชิญ กำนันตำบลบางวัน นายสมควร จันทร์แดง , รองนายก อบต.บางวัน
3.เรื่องการจัดสถานที่ในวันนี้มีตัวแทนกลุ่ม  4 กลุ่ม มาร่วมกันไปจัดหาเต็นท์ที่บ้านบางด้ง จำนวน 5 หลัง เพื่อมาใช้ในการเชียร์ของทั้ง 4 สี คือ เต้นท์สีแดง สีเหลือง สีขาว สีฟ้า
4.ผู้ใหญ่รวย รอดประชุม แนะนำให้มีการเดินพาเหรด โดยเริ่มที่บ้านผู้ใหญ่ โดยจะจัดเลี้ยงกาแฟด้วย 5.ให้ทุกคนไปพร้อมกันตั้งแต่ เวลา 07.30 น.จัดขบวนพาเหรด 6.งานด้านการจัดสนามแข่งขัน ให้ตัวแทนทุกกลุ่มได้มาช่วยกันเตรียมสถานที่ 7.การจราจร ให้ทาง อพปร.บางวัน นายสมทรง ไชยช่วย ประสานขอ อพปร.จากหมู่บ้านอื่นมาช่วย จำนวน 5 ท่าน 8.งานด้านเครื่องเสียง ใช้เครื่องเสียงของนายอู็ด อุปไชย ซึ่งมาช่วยงาน 9.กลองยาว ให้ยืมจาก รร.บางวัน ประสาน

กิจกรรมหลัก : จัดกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นใน 7 ด้าน จำนวน 3 กลุ่มi

45,320.00 268 ผลผลิต

-บุคคลต้นแบบจากกลุ่มภูมิปัญญา 7ด้าน รวม 36คนส่วนที่เหลือ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

-นำบุคคลต้นแบบไปดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง จาก ศูนย์เรียนรู้ปราชญ์บ้านโงกน้ำ หมู่ 8ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง -ได้นำแนวคิดมาวางแผนการพัฒนาคนในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการลดรายจ่ายในครัวเรือน เป็นวิธีการที่ดีเนื่องจากกลุ่มที่ได้ร่วมในกระบวนการเรียนรู้ครั้งนี้เห็นพ้องกันว่าจะต้องนำมาพัฒนาหมู่บ้านต่อไปโดยการเรียนรู้จากบ้านต้นแบบที่ได้พัฒนาขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

จากการประชุมของคณะกรรมการโครงการ ได้คัดเลือกเฉพาะบุคคลต้นแบบที่ได้รับการคัดเลือกเพื่อไปศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  • สรุปให้จัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับบุคคลต้นแบบที่ได้รับการคัดเลือกมาจากการสำรวจ ได้มีความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มเติม

รายชื่อดังนี้

  1. นางอัมพร ศรีประเสริฐ
  2. นายมานพ ประพรม
  3. นางห้อง ไชยช่วย
  4. นางจันจิรา จันทร์เนตร
  5. นางสุมล กิจไพโรจน์
  6. น.ส.วิราภรณ์ โมจินดา
  7. นางอัมพร มากมูล
  8. นางยุพิน ศรีประเสริฐ
  9. นายสมใจ บุญเสริม
  10. นายชาตรี ตันติวิวัฒน์
  11. นายถาวร คงหมุน
  12. น.ส. ธิดารัตน์ ชุมทอง
  13. นายเลี่ยม อุปไชย
  14. นางจารุ รักบำรุง
  15. นางเบญจา สุขภิมนตรี
  16. ด.ช.สรวิชญ์ สุขภิมนตรี
  17. นายก้อง ศรีฟ้า
  18. นายสมพร คงหมุน
  19. นายอุดร บุญเสริม
  20. น.ส.ดามันญา ลักษณธวิลาส
  21. นางปรานี แก้วสะอาด
  22. นางอารี สวัสดี
  23. นางผิน สังข์ขาว
  24. นายวินัย รักแต่งาน
  25. น.ส.วราภรณ์ หอมหวล
  26. นางอาดีลา หอมหวล
  27. น.ส.ปนัดดา จงรักษ์
  28. นางลักษมี ภู่เจริญ
  29. นายรวย รอดประชุม
  30. นายยงยุทธ โดยดี
  31. นายสถิตย์ ศรีฟ้า
  32. นางปนิดา ศรีฟ้า
  33. นายสมทรง ไชยช่วย
  34. น.ส.นันทาทิพย์ เพชรสุวรรณ
  35. นางพเยาว์ ตันสกุล
  36. นายนิตย์ จันทำ
  37. นายประเทือง เพ็ชรขาว
  38. น.ส.เมทนี สุขศรีนวล
  39. นายบุญศิริ ชูพงศ์
  40. นายกฤษ ศรีฟ้า
45,320.00 45,050.00 268 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปกิจกรรม มีดังนี้

  • ศูนย์เรียนรู้ปราชญ์บ้านโงกน้ำ หมู่ 8  ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

จุดแข็งบ้านโงกน้ำ

  • ทำนา ทำสวน ปลูกผักกินเอง
  • ทำนากินเอง
  • มีงานทำอย่างน้อย 4 อาชีพ ทุกครัวเรือน
  • มีเงินฝากทุกคนทุกครัวเรือน

ชุมชนบ้านโงกน้ำชาวบ้านสวนใหญ่จะเน้นทำเกษตรและการเลี้ยงปลาดุกซึ่งเลี้ยงในบ่อดิน สามารถจับขายได้หลายตันและมีการแปลรูปของปลาดุก โดยการสาธิตการทำปลาดุกร้าเพื่อเพิ่มยอดขาย ซึ่งมีวิธีการทำดังนี้

ส่วนผสม

  1. ปลาดุก 5 ก.ก. การเลือกซื้อปลาดุกที่มีขนาดใหญ่เกินไปไม่ได้ เพราะจะทำให้เนื้อแข็ง ควรเลือกขนาด 6-8 ตัวต่อกิโลอายุปลาไม่เกิน  4  เดือน และต้องเป็นปลาที่เลี้ยงในบ่อดิน
  2. เกลือ 2 ขีด
  3. เกลือ 2 ขีด
  4. น้ำตาลทายแดง 5 ขีด

วิธีทำ

  1. ทำให้ปลาตายเสียก่อน โดยนำปลาใส่ในกระสอบและเกลือ 1 ถุง ปิดปากถุงไว้รอจนปลาตาย
  2. ตัดหัวปลาให้คางติดอยู่กับตัวปลา ส่วนหัวปลาสามารถนำไปทำปุ๋ยได้
  3. ล้างปลาจนเมือกจากตัวปลาหมด
  4. นำปลาใส่ภาชนะพักไว้ 12 ชั่วโมง
  5. นำเกลือและน้ำทรายแดงผสมกันแล้วใส่ในท้องปลา เรียงปลาให้เรียบร้อยในภาชนะที่มีฝาปิด น้ำตาลที่เหลือโรยให้ทั่วตัวปลา ปิดปาทิ้งไว้ 12 ชั่วโมง
  6. แล้วนำปลาไปตากแดด 6 วัน กลับปลาทุกครึ่งวัน พอแห้งใช้ลูกกลิ้ง  ๆ สลับไปมาให้แบน
  7. แพคใส่ถุงสุญญากาศ เก็บไว้ได้ 3 เดือน  รสชาติไม่เปลี่ยนแปลง

เทคนิคการทอดปลาดุกร้า

  1. เน้นไฟอ่อนๆ
  2. น้ำมันท่วมตัวปลา
  3. เวลาทอดให้พลิกตัวปลากลับไปกลับมา 30 วินาทีต่อครั้ง จนปลาสุก

วิธีทอดไม่ให้ปลาติดกระทะ      คลุกปลากับไข่ (ตีไข่ให้เข้ากัน)

การทำปุ๋ยหมัก

ส่วนผสม

  1. สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 1 ซอง ทำน้ำหมักได้ 20 ลิตร
  2. ผัก หรือผลไม้ 40 กก.  หรือหัวหลา 30 ก.ก.+ผัก ผลไม้ 10 กก.
  3. กากน้ำตาล 10 ก.ก. และน้ำ  10  ลิตร

วิธีทำ

  1. นำน้ำและการน้ำตาลผสมกัน
  2. ใส่สารเร่งซุปเปอร์ พด.21  คนให้เข้ากัน แล้วใส่ผักผลไม้ลงไป
  3. ปิดฝาทิ้งไว้ 3 สัปดาห์

การใช้ปุ๋ยหมัก (ปุ๋ยน้ำ)

  • เอากากออกก่อน แล้วผสมน้ำใช้ได้เลย โดยมีอัตราการใช้คือ  สำหรับรดผัก ผสมน้ำปุ๋ยหมัก  4 ช้อนโต๊ะ / น้ำ 20 ลิตร และสำหรับไม้ผล ใช้ 1:500 3 -5 วันฉีดเรื่อย ๆ เพื่อบำรุง
  • ถ้าน้ำในบ่อมีกลิ่น สามารถใช้ พด. 6  ในการบำบัดน้ำได้
  • คติการใช้ปุ๋ย “ ขี้หมูกินหัว  ขี้วัวกินใบ  ขี้ไก่กินลูก”

การทำไข่เค็ม

  • ไข่ 100 ฟอง / น้ำ  6 กก. / เกลือ  6 ถุง (ไอโอดีนปรุงทิพย์)
  • ต้มน้ำให้เกลือละลาย ทิ้งไว้ให้เย็น
  • ใส่ไข่ หาอุปกรณ์ทับไว้ไม่ให่ไข่ลอยืปิดฝาแช่ทิ้งไว้  10 วัน

หลักการเกษตรทฤษฎีสมัยใหม่  ไว้บริโภค        แบ่งปัน        ส่วนที่เหลือซื้อวัตถุดิบ

หลักการทำงานที่ประสบความสำเร็จ

  1. ต้องประชุมก่อนทำงาน ถ้าไม่ประชุม ไม่ทำ/จบงาน ทุกครั้งต้องประชุม
  2. ไม่ถือเงิน ถ้าเงินเหลือนำฝาก
  3. การทำงานทุกอย่างโปร่งใส บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง  2 เงื่อนไข

3 ห่วงคือ

  1. ความมีเหตุผล
  2. รู้จักพอประมาณ การใช้จ่ายสมฐานะ
  3. มีภูมิคุ้มกันที่ดี การรักษาสุขภาพ ออกกำลังกาย

2 เงื่อนไข

  1. การศึกษาตลอดเวลา นำความรู้มาพัฒนางาน
  2. การมีคุณธรรมกำกับการดำเนินชีวิต

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  • ขี้นพื้นฐาน  4 ขั้น
  1. ขั้นพอกิน
  2. ขั้นพอใช้ สร้างสิ่งที่ต้องใช้ให้พอ
  3. ขั้นพออยู่ อยู่ให้สมฐานะ
  4. พอร่มเย็น  ไม่มีหนี้สิน
  • ขั้นก้าวหน้า  5  ขั้น
  1. ขั้นทำบุญ คือการอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับ
  2. ขั้นทำทาน การให้ความรู้แก่ผู้อื่น , การให้อภัย
  3. ขั้นเก็บรักษาทรัพย์  ดูแลรักษาทรัพย์สมบัติให้ยั่งยืน มี 5 อย่าง
  • การฝังดิน  คือปลูกให้มาก
  • ให้เขากู้  ส่งให้ลูกเรียนหนังสือ
  • ฝากธนาคาร การทำบุญในโอกาสต่าง ๆ , ภาษีสังคม
  • ใช้หนี้เก่า  เลี้ยงดูตอบแทนพ่อแม่
  • ทิ้งลงเหว  การรู้จักบริโภค  การทำบัญชีครัวเรือน จ่ายอย่างประหยัด กินให้มีประโยชน์

4.ขั้นขายทรัพย์  ผลิตเพื่อกินแล้วก็ขาย เพื่อดำรงชีวิต การขายของให้พิจารณาที่ทุนเป็นสำคัญ อย่าเอากำไรให้มาก ให้ผู้ซื้อมีความสุข

5.ขั้นรวยทรัพย์  รวยการเงิน รวยน้ำใจ การมีเมตตา  ความเอื้ออาทร  การช่วยเหลือกัน

หลักการทรงงานของในหลวง

  1. หลักคิด เป็นนักประชาธิบไตย เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น  รู้จักฟังคำคิดเห็น
  2. หลักวิชา
  3. หลักปฏิบัติ

หลักการทำงานของปราชญ์  เลี้ยงดินให้ดินเลี้ยงพืช คือ ลดละการใช้สารเคมี

ความสุข 8 ประการ

  1. ความสุขทางร่างกาย (happy body) ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ หลีกเลี่ยงของแสลง ใช้หลักกินน้อย โรคน้อย ตายยาก กินมาก ตายง่าย
  2. หัวใจเป็นสุข (happy heart)    ใจเย็นไม่รุ่มร้อน
  3. สมองเป็นสุข (happy brain)
  4. สังคมหรือกลุ่มเป็นสุข (happy socialty)    ไม่อิจฉาริษยา  มองคนในแง่ดี
  5. ผ่อนคลายเป็นสุข (happy relaxtion)  ไม่เครียด
  6. วิญญาณเป็นสุข (happy soul)
  7. เงินเป็นสุข (happy money)  มีพอประมาณ สมฐานะ มีจ่ายได้
  8. ครอบครัวเป็นสุข (happy family) มีความเข้าใจ ให้เกียรติ

คติเตือนใจในการทำงานให้เป็นสุข

  • “ จงทำงานเสมือนว่าเราจะตายในวันพรุ่งนี้ แต่จงเรียนรู้หมั่นศึกษาเสมือนว่าเราไม่มีวันตาย”
  • “ การทำงานอย่าผัดวันประกันพรุ่ง”
  • “อย่าถามว่าประเทศชาติให้อะไรแก่เราบ้าง แต่จงถามว่าเราให้อะไรแก่ประเทศชาติบ้าง”

ผลผสรุปของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญา 7 ด้าน

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความกระตือรือร้นในการที่ไปได้ความรู้เพิ่มเติม
  2. สามารนำแบบอย่างที่ได้ไปศึกษาดูงานมาปรับในการปฏิบัติของครอบครัวในชุมชน
  3. ได้หลักแนวคิดเกี่ยวกับการปฏิบัติตนของชุมชนให้มีความพอเพียง
  4. เกิดความรักความสามัคคีภายในกลุ่มคณะ
  5. บุคคลที่เดินทางไปสามารถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในชุมชน

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมธรรมะในโรงเรียนโดยการอบรมธรรมให้แก่เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบางวันทุกวันจันทร์i

19,965.00 94 ผลผลิต

-นักเรียนได้เรียนธรรมะรวม 16ครั้ง โดยมีวิทยากรจากปราชญ์ชาวบ้านเป็นวิทยากร


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

-นักเรียนได้ทราบประวัติและความเป็นมาของศาสนาพุทธดีขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 23 ครั้ง

  1. พระอาจารยืสมนึก กนตีดล เจ้าอาวาสวัดบางวัน
  2. คณะกรรมการสถานศึกษา รร.บางวัน
  3. คณะครู รร.บางวัน
  4. คณะทำงาน จำนวน
  5. ปราชญ์ชาวบ้าน
0.00 0.00 12 17 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ทางคณะครูได้เสนอรูปแบบของหลักสูตรในการใช้สอนธรรมะใน รร. โดยการฉายสไลด์ให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้พิจารณา โดยเนื้อหาและแนวทางในการดำเนินงานจะใช้สื่อมัลติมิเดีย เช่น ภาพยนต์ หนังโฆษณา เรื่องสั้น สปอร์ตโฆษณา วิดิโอ นำมาแายให้นักเรียนได้ดูและทำแบบรายงาน  ซึ่งทางผู้เข้้าร่วมประชุมจะนำไปพิจารณาอีกครั้ง
  2. คุณกฤษ ได้นำเสนอรูปแบบของสมุดบันทึกความดี โดยจะสรุปอีกครั้ง
  1. กรรมการสถานศึกษา
  2. คณะครู
  3. คณะทำงาน โครงการ
0.00 0.00 15 13 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผลสรุปที่เป็นแนวทางในการปฏิบัติเป็นไปตามที่คณะทำงานได้วางแผนไว้ โดยกำหนดให้ทดลองหลักสูตรในการสอนธรรมะ  มีดังนี้ ตารางกำหนดการจัดกิจกรรม ชื่อกิจกรรม :                        สร้างสรรค์สื่อปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมสู่ต้นกล้า ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม  :  จัดต่อเนื่องอย่างน้อยเป็นเวลา 32  ชั่วโมง  เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน
จำนวนเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรม :  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  1 – 6 โรงเรียนบ้านบางวัน และเข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง กิจกรรมที่ 1 คุณธรรมและจริยธรรมคืออะไรหนอ
กิจกรรมที่ 2 ร้อยเรียงสื่อสิ่งพิมพ์สร้างสรรค์คุณธรรมและจริยธรรมให้เกิดในใจ
กิจกรรมที่ 3 ละครสอนชีวิต
กิจกรรมที่ 4 ภาพยนตร์ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
กิจกรรมที่ 5 สื่อโฆษณาสร้างสรรค์คุณธรรม
กิจกรรมที่ 6  ไอซีทีกับการสร้างสรรค์คุณธรรมจริยธรรม
กิจกรรมที่ 7 ต้นกล้าแห่งคุณธรรมในโรงเรียน
2.พิจารณษรูปแบบสมุดบันทึกความดีคณะกรรมการเห็นสมควรตามที่เตรียมแบบอย่างมา และกำหนดวันที่จะประชุมผู้ปกครองเพื่อสร้างความเข้าใจในกาารดำเนินกิจกรรมสอนธรรมะในโรงเรียน  โดยกำหนดสมุดบันทึกความดีได้ ดังนี้

คำชี้แจงในการใช้สมุดบันทึกความดี

  • สมุดเล่มนี้จะเป็นข้อมูลให้ผู้บันทึกได้พิจารณาว่าได้ปฏิบัติตนอย่างถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ และสามารถพัฒนาปรับปรุงในด้านใดบ้าง ซึ่งจะมีผลต่อการพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพของความเป็นมนุษย์ เป็นการบ่มเพาะคุณลักษณะอันดีงาม ซึ่งจะเกิดผลดีต่อความสำเร็จ ความก้าวหน้าทั้งต่อตนเอง ครอบครัว สังคมต่อไปในอนาคต

โดยความดีที่ควรปฏิบัติให้ครบถ้วนมี 7 ประการ ดังนี้

  1. ความดีที่ปฏิบัติต่อตนเอง จะมีผลให้เป็นคนประสบความสุขความสำเร็จในชีวิต
  2. ความดีที่ปฏิบัติต่อครอบครัวพ่อแม่ญาติพี่น้องและผู้มีพระคุณ จะมีผลทำให้พ่อแม่และญาติพี่น้องได้มีความสุข ความภูมิใจ สมกับที่ท่านได้เลี้ยงดูเรามาด้วยความยากลำบาก มีครอบครัวที่อบอุ่น เป็นที่รักใคร่แก่บุคคลทั่วไป
  3. ความดีที่ปฏิบัติต่อโรงเรียนครูอาจารย์ จะมีผลทำให้สถาบันของเรามีชื่อเสียงในทางที่ดี เป็นการตอบแทนคุณครูบาอาจารย์
  4. ความดีที่ปฏิบัติต่อเพื่อนและเพื่อนร่วมโลก จะมีผลทำให้เราเป็นที่รักของเพื่อน อันจะได้ช่วยพึ่งพาอาศัยกันมีกัลยาณมิตรและความรักความเมตตาที่มีต่อกันและกันจะช่วยสร้างสันติสุขในโลก
  5. ความดีต่อสังคม ประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ จะมีผลทำให้สังคมของเราน่าอยู่ ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขสงบร่มเย็น
  6. ความดีที่ปฏิบัติต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร  จะมีผลทำให้ลดความเสื่อมโทรมของทรัพยากร ทำให้เรามีความสุขอย่างยั่งยืน ไม่มีมลภาวะและภัยธรรมชาติที่มีสาเหตุมาจากการกระทำของมนุษย์
  7. การทบทวนข้อบกพร่องผิดพลาด จะมีผลทำให้เป็นคนกล้ารับผิดชอบในการกระทำของตนเอง การทบทวนความผิดพลาดแล้วแก้ไข ชีวิตจะมีแต่ความเจริญก้าวหน้า

ตัวอย่างของการทำดีในแต่ละด้าน

  1. ความดีที่ปฏิบัติต่อตนเอง เช่น เป็นคนมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น  มุ่งมั่น ขยัน ประหยัด อดทน ตั้งใจเรียน ตรงต่อเวลา อ่อนน้อมถ่อมตน เป็นคนมีมารยาท สะอาดเรียบร้อย ทานอาหารที่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ไม่ดื่มน้ำอัดลมไม่บริโภคอาหารขยะ ไม่เสพของเสพติด หมั่นออกกำลังกาย เป็นคนมีเหตุผล กล้าแสดงออก รู้จักประหยัดมัธยัสถ์  รักษาศีล รู้จักพัฒนาและแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง นำหลักศาสนามาเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
  2. ความดีที่ปฏิบัติต่อครอบครัวพ่อแม่ญาติพี่น้องและผู้มีพระคุณ เช่น  การเคารพนพไหว้เชื่อฟังพ่อแม่ญาติผู้ใหญ่  กอดพ่อแม่ปฏิบัติตัวให้พ่อแม่มีความสุข ไม่ดื้อ ไม่ดูดายการงานในครอบครัว ช่วยจัดตกแต่งทั้งในบ้านและนอกบริเวณบ้านให้สะอาดสวยงาม ไม่โกหกพ่อแม่ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย มีความเคารพความรักให้ความช่วยเหลือต่อญาติพี่น้อง ทำตัวให้พ่อแม่  ญาติ-วงศ์ตระกูลภาคภูมิใจ สำนึกคุณและหาทางตอบแทนคุณผู้มีพระคุณ
  3. ความดีที่ปฏิบัติต่อโรงเรียนครูอาจารย์ เช่น เคารพเชื่อฟังคุณครู  ตั้งใจเรียน ปฏิบัติตามกฎระเบียนของโรงเรียนโดยเคร่งครัด ช่วยเหลือกิจกรรมของโรงเรียน เก็บกวาดขยะ ช่วยจัดโรงเรียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด สวยงาม สร้างชื่อเสียงที่ดีให้กับโรงเรียน
  4. ความดีที่ปฏิบัติต่อเพื่อนและเพื่อนร่วมโลก เช่น ชักชวนแนะนำเพื่อนในทางที่ดี ที่ถูกต้อง มีความรักความสามัคคี รู้จักให้อภัยเพื่อน ไม่พูดจายุยงให้เพื่อนทะเลาะกัน เอื้อเฟื้อช่วยเหลือแบ่งปัน มีความเห็นอกเห็นใจต่อมนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย
  5. ความดีที่ปฏิบัติต่อสังคม ประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เช่น การนำหลักศาสนามาประพฤติปฏิบัติให้เห็นผลเป็นรูปธรรม การเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา งานประเพณี การให้ความช่วยเหลือและเข้าร่วมกิจกรรมในงานด้านต่างๆ  ของชุมชน การไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ไม่ทำตัวเป็นภาระแก่สังคมตั้งมั่นอยู่ในความสุจริต ไม่คิดฉ้อโกง การชักชวนให้พ่อแม่และบุคคลต่างๆ ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง ให้มีการเลือกตั้งที่ไม่เห็นแก่อามิสสินจ้าง ประชุมหมู่บ้านและร่วมกิจกรรมในชุมชน มีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ การแสดงออกต่อสถาบันฯในโอกาสต่างๆ
  6. ความดีที่ปฏิบัติต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร  เช่น การรู้จักการจัดการขยะที่ถูกต้อง การรู้จักคัดแยกขยะนำไปใช้ประโยชน์การไม่เผาขยะ การหลีกเลี่ยงการใช้ถุงพลาสติก กล่องโฟม การไม่ทิ้งขยะและของเสียลงแม่น้ำคูคลอง การชักชวนให้พ่อแม่ไม่ตัดไม้ทำลายป่า ไม่ล่าและบริโภคเนื้อสัตว์สงวน  การช่วยปลูกต้นไม้ การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ การลดการใช้พลังงาน เปิดเครื่องไฟฟ้าเท่าที่จำเป็น ใช้จักยานแทนรถยนต์หรือมอเตอร์ไซค์ การใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า และเท่าที่จำเป็น
  7. การทบทวนข้อบกพร่องผิดพลาด เป็นการทบทวนพฤติกรรมของตนเองทุกๆ ด้านในรอบวันว่า มีความบกพร่องผิดพลาดตรงไหน มีสาเหตุมาจากอะไร แล้วมีความพยายามที่จะแก้ไขข้อผิดพลาดนั้น ไม่ให้เกิดซ้ำอีก

การให้คะแนนประเมินผล

เกณฑ์การให้คะแนน 5 = มีการปฏิบัติเป็นประจำ 4 = มีการปฏิบัติบ่อยครั้ง 3 = มีการปฏิบัติปานกลาง 2 = มีการปฏิบัติน้อย 1 = มีการปฏิบัติน้อยสุด

ประจำเดือน................................................................... หัวข้อที่ประเมิน ระดับผลการประเมิน 1 2 3 4 5

  1. ความดีต่อตนเอง
  2. ความดีต่อครอบครัว พ่อแม่ญาติพี่น้องและผู้มีพระคุณ
  3. ความดีต่อโรงเรียน ครูอาจารย์
  4. ความดีต่อเพื่อน และเพื่อนร่วมโลก
  5. ความดีต่อสังคม ประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
  6. ความดีต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร
  7. การทบทวนข้อบกพร่องผิดพลาด

ผู้ประเมิน........................................................ (............................................................)

ผู้ปกครอง.................................................... (...........................................................)

  • สรุปที่ประชุมเห็นชอบในรุปแแบของสมุดบันทึกความดี และให้ดำเนินการจัดทำ

1.เพื่อสร้างความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรมสอนธรรมะนักเรียนในโรงเรียนบ้านบางวัน 2.เพื่อให้ผู้ปกครองได้ทราบถึงแนวทางในการบันทึกสมุดบันทึกความดีของลูก เพื่อผู้ปกครองได้รับรอง 3.เพื่อให้คณะครูได้รับทราบถึงกิจกรรม

0.00 765.00 100 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปที่เกิดจากการประชุม 1.ผู้ปกรองนักเรียนได้รับทราบถึงกิจกรรมสอนธรรมะให้กับนักเรียนในทุกวันจันทร์ เวลา 14.00 น.ถึง 15.00 น. 2.ผู้ปกครองได้ทราบถึงแนวทางในการนำสมุดบันทึกความดี เพื่อให้เด็กนักเรียนได้บันทึก และผู้ปกครองรับรองการปฏิบัติ 3.พระอาจารย์บุญนพ เจ้าอาวาสวัดสวนวาง ได้นำความรู้หรือตัวอย่างที่เกี่ยวกับความดีทั้ง 8 ด้านมาให้กับผู้ปกครองได้รู้ 4.ครูอิสลามได้พูดถึงความดีในหลักของศาสนาอิสลามให้กับเด็กนักเรียนที่นับถือศาสนาอิสลามได้ทราบ และอธิบายแนวทางในการทำความดี 5.คุณกฤษ ศรีฟ้าได้สรุปความดี ทั้ง 8 ข้อดังนี้ ตัวอย่างของการทำดีในแต่ละด้าน

1.ความดีที่ปฏิบัติต่อตนเองเช่น เป็นคนมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น  มุ่งมั่น ขยัน ประหยัด อดทน ตั้งใจเรียน ตรงต่อเวลา อ่อนน้อมถ่อมตน เป็นคนมีมารยาท สะอาดเรียบร้อย ทานอาหารที่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ไม่ดื่มน้ำอัดลมไม่บริโภคอาหารขยะ ไม่เสพของเสพติด หมั่นออกกำลังกาย เป็นคนมีเหตุผล กล้าแสดงออก รู้จักประหยัดมัธยัสถ์  รักษาศีล  นำหลักศาสนามาเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต 2. ความดีที่ปฏิบัติต่อครอบครัวพ่อแม่ญาติพี่น้องและผู้มีพระคุณ เช่น  การเคารพนพไหว้เชื่อฟังพ่อแม่ญาติผู้ใหญ่  กอดพ่อแม่ปฏิบัติตัวให้พ่อแม่มีความสุข ไม่ดื้อ ไม่ดูดายการงานในครอบครัว  ไม่โกหกพ่อแม่ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย มีความเคารพความรักให้ความช่วยเหลือต่อญาติพี่น้อง ทำตัวให้พ่อแม่  ญาติ-วงศ์ตระกูลภาคภูมิใจ สำนึกคุณและหาทางตอบแทนคุณผู้มีพระคุณ 3. ความดีที่ปฏิบัติต่อโรงเรียนครูอาจารย์ เช่น เคารพเชื่อฟังคุณครู  ตั้งใจเรียน ปฏิบัติตามกฎระเบียนของโรงเรียนโดยเคร่งครัด ช่วยเหลือกิจกรรมของโรงเรียน เก็บกวาดขยะ ช่วยจัดโรงเรียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด สวยงาม สร้างชื่อเสียงที่ดีให้กับโรงเรียน 4. ความดีที่ปฏิบัติต่อเพื่อนและเพื่อนร่วมโลก เช่น ชักชวนแนะนำเพื่อนในทางที่ดี ที่ถูกต้อง มีความรักความสามัคคี รู้จักการให้อภัย ไม่พูดจายุยงให้เพื่อนทะเลาะกัน เอื้อเฟื้อช่วยเหลือแบ่งปัน มีความเห็นอกเห็นใจต่อมนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย 5. ความดีที่ปฏิบัติต่อสังคม ประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เช่น การนำหลักศาสนามาประพฤติปฏิบัติให้เห็นผลเป็นรูปธรรม การเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา งานประเพณี  การไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ไม่ทำตัวเป็นภาระแก่สังคมตั้งมั่นอยู่ในความสุจริต ไม่คิดฉ้อโกง การชักชวนให้พ่อแม่และบุคคลต่างๆ ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง ให้มีการเลือกตั้งที่ไม่เห็นแก่อามิสสินจ้าง ประชุมหมู่บ้านและร่วมกิจกรรมในชุมชน มีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ การแสดงออกต่อสถาบันฯในโอกาสต่างๆ
6. ความดีที่ปฏิบัติต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร  เช่น การรู้จักการจัดการขยะที่ถูกต้อง การรู้จักคัดแยกขยะนำไปใช้ประโยชน์การไม่เผาขยะ การหลีกเลี่ยงการใช้ถุงพลาสติก กล่องโฟม การไม่ทิ้งขยะและของเสียลงแม่น้ำคูคลอง การชักชวนให้พ่อแม่ไม่ตัดไม้ทำลายป่า ไม่ล่าและบริโภคเนื้อสัตว์สงวน  การช่วยปลูกต้นไม้ การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ การลดการใช้พลังงาน เปิดเครื่องไฟฟ้าเท่าที่จำเป็น ใช้จักยานแทนรถยนต์หรือมอเตอร์ไซค์ การใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า และเท่าที่จำเป็น 7. การมองให้เห็นถึงความดีของผู้อื่น  เช่น ในวันหนึ่งๆ ใครทำอะไรดีๆ ให้กับเราบ้าง หรือเราเห็นใครทำความดีที่เราชื่นชม  และเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เราได้ประพฤติปฏิบัติตาม 8. การทบทวนข้อบกพร่องผิดพลาด เป็นการทบทวนพฤติกรรมของตนเองทุกๆ ด้านในรอบวันว่า มีความบกพร่องผิดพลาดตรงไหน มีสาเหตุมาจากอะไร แล้วมีความพยายามที่จะแก้ไขข้อผิดพลาดนั้น ไม่ให้เกิดซ้ำอีก

นักเรียน รร.บ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นายดำ ศรีประเสริฐ ได้อธิบาย ดังนี้

  • ความหมายของ ธูปเทียน ดอกไม้ การกราบไหว้ หลังจากไหว้พระ อาราธนาศิล รับศิล แล้วกรวดน้ำ ดอกไม้เป็นเครื่องหมายในการบูชาพระสงฆ์ ดอกไม้นานาพันธุ์ หากสีต่างชนิด เมื่อช่างดอกไม้ผู้เชี่ยวชาญการจัดดอกไม้นำมาร้อยเป็นพวงมาลัยประดับในแจกันหรือภาชนะที่เหมาะสมย่อมดูสวยงามเป็นที่ชื่นชมของผู้พบเห็น
  • ธูปเป็นของหอมเป็นเครื่องบูชาพระพุทธเจ้าปกติใช้จำนวน ๓ ดอกหมายถึง บูชาพระพุทธคุณของพระพุทธเจ้า ๓ ประการ คือ
  1. พระปัญญาคุณทรงมีพระปัญญาสูงสุดประเสริฐสุดหาผู้เสมอมิได้
  2. พระกรุณาคุณทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสมอกันในมวลสัตว์โลกทุกหมู่เหล่าแม้แต่บุคคลที่มุ่งร้ายต่อพระองค์ ทรงหวังให้เกิดประโยชน์โดยสถานเดียว
  3. พระปริสุทธิคุณทรงมีพระทัยผ่องใสบริสุทธิ์จากอาสวกิเลสทั้งมวล
  • เทียนเป็นสิ่งให้แสงสว่าง ใช้บูชาพระธรรม ซึ่งให้แสงสว่าง คือ ปัญญาแก่ผู้นำไปปฏิบัติ โดยปกติใช้เทียน ๑ คู่ เพราะพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า แบ่งเป็น ๒ประเภท คือ พระธรรม และพระวินัยแต่ในการจัดโต๊ะหมู่บูชากำหนดให้ตั้งเทียนประดับตามที่กำหนดในแต่ละประเภทของโต๊ะหมู่ เช่นหมู่ ๕ใช้เทียน ๔ คู่หมู่ ๗ใช้เทียน ๕ คู่หมู่ ๙ ใช้เทียน ๖ คู่แต่เมื่อบูชานิยมจุดเพียง ๑ คู่ ทึ่ตั้งอยู่ใกล้กับกระถางธูป
  • นายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้สอนการกราบไหว้ โดยดังนี้

การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์

ท่าเตรียม

  • ชาย นั่ง คุกเข่าตัวตรงปลายเท้าตั้ง ปลายเท้าและส้นเท้าชิดกัน นั่งบนส้นเท้า เข่าทั้งสองห่างกันพอประมาณ มือทั้งสองวางคว่ำบนหน้าขา ทั้งสองข้าง นิ้วนิวชิดกัน (ท่าเทพบุตร)
  • หญิง นั่งคุกเข่าตัวตรง ปลายเท้าราบ เข่าถึงปลายเท้าชิดกัน นั่งบนส้นเท้า มือทั้งสองวางคว่ำบนหน้าขา ทั้งสองข้าง นิ้วชิดกัน (ท่าเทพธิดา)

ท่ากราบ

  • จังหวะที่ ๑ (อัญชลี) ยกมือขึ้นในท่าประนมมือ
  • จังหวะที่ ๒ (วันทนา) ยกมือขึ้นไหว้ตามระดับที่ ๑ การไหว้พระ
  • จังหวะ ที่ ๓ (อภิวาท) ทอดมือทั้งสองลงพร้อมๆ กัน ให้มือและแขนทั้งสองข้างราบกับพื้น คว่ำมือห่างกันเล็กน้อยพอให้หน้าผากจรด พื้นระหว่างมือได้
  • ชาย ศอกทั้งสองข้างต่อจากเข่าราบไปกับพื้น หลังไม่โก่ง
  • หญิง ศอกทั้งสองข้างคร่อมเข่าเล็กน้อย ราบไปกับพื้น หลังไม่โก่ง จากนั้นก้มศีรษะลงให้หน้าผากจรดพื้นระหว่างมือทั้งสองทำสามจังหวะให้ครบ ๓ ครั้ง แล้วยกมือขึ้นไหว้ในท่าไหว้พระ แล้ววางมือคว่ำลงบนหน้าขาในท่าเตรียมกราบ จากนั้นให้เปลี่ยนอิริยาบถตามความเหมาะสม

กราบผู้ใหญ่

  • กราบผู้ใหญ่ที่มีอาวุโส รวมทั้งผู้มีพระคุณ ได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ครู อาจารย์ และผู้ที่เราเคารพ ผู้กราบทั้งชายและหญิงนั่งพับเพียบทอดมือทั้งสองข้างลงพร้อมกัน ให้แขนทั้งสองคร่อมเข่าที่อยู่ด้านล่างเพียงเข่าเดียว มือประนมตั้งกับพื้นไม่แบมือ ค้อมตัวลงให้หน้าผากแตะส่วนบนของมือที่ประนม ในขณะกราบไม่กระดกนิ้วมือขึ้นรับหน้าผาก กราบเพียงครั้งเดียว

ผลการเรียนรู้

  • นักเรียนปฏิบัติตามที่สอนได้

นักเรียนรร.บ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปของกิจกรรมการสอนธรรมะในครั้งนี้

นายดำ ศรีประเสริฐได้อธิบาย ดังนี้

  • พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทย เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๖ สมัยเดียวกันกับประเทศลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ ๙ สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ไม่น้อยกว่า ๗ ประเทศ ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ
  • ผลนักเรียนความเข้าใจ ว่า ศาสนาพุทธนั้นมีต้นกำเนิดมาจากทางประเทศอินเดีย และเผยแผ่มาสู่ประเทศเรา
  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
  • วิทยากร จำนวน 2 ท่าน คือ นายดำ ศรีประเสริฐ ,นายสถิตย์ ศรีฟ้า
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นายดำ ศรีประเสริฐ และนายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้ดำเนินการบรรยาย ดังนี้

  • ศีล 5 เป็นเครื่องบ่งชี้ศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ ดังนี้

    • ข้อ 1  ตั้งใจงดเว้นจากการฆ่าสัตว์
    • ข้อ 2 ตั้งใจงดเว้นจากการลักขโมย
    • ข้อ 3 ตั้งใจงดเว้นจากการประพฤติในกาม
    • ข้อ 4 ตั้งใจงดเว้นจากการพูดเท็จ  พูดคำหยาบ คำส่อเสียด เพ้อเจ้อ
    • ข้อ 5 ตั้งใจงดเว้นจากดื่มสุราเมรัย อันเป็นต้นเหตุแห่งความประมาท
  • นักเรียนสามารถอธิบายถึงคำว่า ศีล 5 ว่ามีอะไรบ้าง

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปกิจกรรม ดังนี้

  • นายดำ ศรีประเสริฐ ได้เล่าพุทธประวัติช่วงพระเจ้าสุทโธทนะเป็นพระเจ้าแผ่นดิน มีพระมเหสีคือพระนางสิริมหามายา แล้วทรงพระครรภ์แก่แล้ว เสด็จไปประสูติที่สวนลุมพีนี
  • นายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้อธิบายเกี่ยวกับการนั่งสมาธิ โดยให้นักเรียนได้ทำการฝึกนั่งสมาธิกัน โดยใช้เวลา 3 นาที ผลการดำเนินกิจกรรม เด็กนักเรียนสามารถฝึกนั่งสมาธิได้
  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • นายดำ ศรีประเสริฐ ได้เล่าถึงพุทธประวัติในช่วงที่พระเจ้าสุทโธทนะเป็นพระเจ้าแผ่นดิน มีพระมเหสีคือพระนางสิริมหามายา แล้วทรงพระครรภ์แก่แล้ว เสด็จไปประสูติที่สวนลุมพีนี โดยสรุปให้ นักเรียนได้ทราบถึงว่าพระพุทธเจ้านั้น ช่วงก่อนจะตรัสรู้ว่า เป็นอย่างไร โดยเน้นถึงการเป็นอยู่ในทางโลก
  • นายสถิตย์ ศรีฟ้า ความหมายของคำว่า พยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั้น  หมายถึง การที่นักเรียนจะทำสิ่งใด แล้วไม่ประสบความสำเร็จ แต่ถ้าทำแล้วทำอีกอย่างมีสติ สุดท้ายก็จะประสบความสำเร็จ

นักเรียน รร.บ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลกิจกรรม มีดังนี้

  • นายสถิตย ศรีฟ้า ได้เล่าถึงพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะขึ้นครองราชย์มีพระมเหสีคือ พระนางพิมพา เมื่อสิริอายุ 17 พระพรรษา แล้วมีพระราชโอรสชื่อ พระราหุล เจ้าชายสิทธัตถะออกผนวชเมื่อายุ 29 ปี
  • นายดำ ศรีประเสริฐ ได้อธิบายถึงข้อคิดของพุทธประวัติตอนนี้ว่า พระพุทธเจ้าทรงมีความตั้งใจสูงในการปฏิบัติธรรม ซึ่งถือว่าเป้นสิ่งสำคัญ ในการดำรงชีวิตของพวกเรา ก็คือ ถ้าจะทำอะไรต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนแน่วแน่ และผลที่ตามมาก็จะสำเร็จ

นักเรียน รร.บางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปกิจกรรม มีดังนี้

  • นายดำ ศรีประเสริฐ และนายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้เล่าถึงพุทธประวัติ ในช่วงที่พระพุทธเจ้าออกผนวช ทรงบำเพ็ญทุกกริยา โดยมีปัญจวัคคีย์คอยปรนนิบัติ 5 องค์ คือ โกญฑัญญะ วัปปะ ภัททิยา มหานามะ อัสสชิ
  • นักเรียนได้ทราบถึง คำว่า บำเพ็ญทุกกริยา หมายความว่า  การที่ส้รางความทุกข์ทรมานให้กับตนเอง เพื่อให้บรรลุถึงแก่นแท้ โดยพระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญทุกข์ทรมาน โดยการอดอาหาร
  • นักเรียน ได้รู้ถึง คำว่า ปรนนิบัติ  หมายถึง การรับใช้ ดูแลทุกอย่าง

นักเรียน รร.บ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการจัดกิจกรรม ดังนี้

  • นายดำ ศรีประเสริฐ และนายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้เล่าถึงพุทธประวัติในช่วงที่พระพุทธเจ้า ได้บำเพ็ญทุกข์ทรมาน หลังจากบำเพ็ญภาวนาไม่สำเร็จ ทำให้ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 หนีไปอยู่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี
  • ข้อคิดของพุทธประวัติช่วงนี้ คือ การที่คนเราถ้าทำสิ่งใดแล้วไม่ประสบความเร็จ แต่ก็จงอย่าหยุดยั้ง ต้องตั้งใจหาแนวทางหรือวิธีอื่นๆ อีก จนกว่าจะนำทางไปสู่ความสำเร็จ

นักเรียนโรงเรียนบ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปของกิจกรรมมี ดังนี้

  • นายดำ ศรีประเสริฐ และนายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้เล่าถึงพุทธประวัติ ในช่วงที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปประทับตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชราได้ตรัสรู้ ในวันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6
  • นายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้สรุปข้อคิดถึง ความพยายาม คือ ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติสิ่งใด ถ้ามีความอดทน ความอดกลั้น มันก็จะไปสู่ความสำเร็จนั่นเอง

บุคคลที่มาร่วมกิจกรรม

  1. เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมความดี 8 ประการ จำนวน 70 คน
  2. เด็กนักเรียนพื้นที่ใกล้เคียง
  3. เด็กเล็ก
  4. คณะทำงาน/ผู้นำชุมชน

รายชื่อวันเด็กดี 8 ประการ (10 ม.ค.58)กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ณ ศาลาประชุมหมู่บ้าน

  1. ด.ช. กฤษฎา ( กฤษ)อินทร์พรม อายุ13 ปีม.1 โรงเรียน เสนานุกูล
  2. ด.ญ. จุฑามาศโดยดีอายุ 14โรงเรียนเสนานุกูล
  3. ด.ญ. ปทิตตาเนรมิต อายุ15โรงเรียนเสนานุกูล
  4. ด.ญ. กานต์พิชชาแก้วแดง อายุ5โรงเรียนวัดป่าส้าน
  5. ด.ญ. ปภาดาใบเตยรุ่งเรืองอายุ 9ป.3 โรงเรียน ย่านยาว
  6. ด.ช. มนัส นัสจันทร์เนตร อายุ10ป.4 โรงเรียน ย่านยาว
  7. ด.ญ. รมัณยาเบลคำเอียดอายุ14ม.2 โรงเรียน ย่านยาว
  8. ด.ญ. สมฤทัยเอมหนูอินทร์อายุ 12ป.6 โรงเรียน ย่านยาว
  9. ด.ญ. มัสนามัสนาเขน็ดพืช อายุ14ม.2 โรงเรียน ย่านยาว
  10. ด.ญ. นารีกิติ์นารีกิติ์เขน็ดพืชอายุ 12ป.6 โรงเรียน ย่านยาว
  11. ด.ช. วิเชษฐ์ยงยุทธอายุ 8 โรงเรียน ย่านยาว
  12. ด.ช. วรากรณ์ศรีประเสริฐอายุ 3โรงเรียนบ้านย่านยาว
  13. ด.ช. ศุภกิตติ์วิรุณศรีอายุ 10โรงเรียนบ้านย่านยาว
  14. ด.ช. สิทธิโชคบุญเสริม อายุ12โรงเรียนบ้านย่านยาว
  15. ด.ช. พลสิทธิ์เต็มโภคา อายุ11โรงเรียนบ้านคุระ
  16. ด.ช. ฟัยศอลระวังงาน อายุ5 โรงเรียน บางเอียง
  17. ด.ญ. สาวิตตรีกู๊กไก่วงศ์สุวรรณ อายุ9ป.3โรงเรียนบางวัน
  18. ด.ญ. วนิดาฟิล์มพบด้วง อายุ10ป.3 โรงเรียน บางวัน
  19. ด.ช. สุริยันไบร์ทพบด้วง อายุ12ป.6โรงเรียนบางวัน
  20. ด.ช. เชาวเลิศดรีมขาวสุดอายุ 10ป.4 โรงเรียน บางวัน
  21. ด.ช. กิติกรโกโก้วงศ์สุวรรณ อายุ7ป.1 โรงเรียน บางวัน
  22. ด.ช. สรวิทย์บูมสุขภมนตรีอายุ 8ป.2 โรงเรียน บางวัน
  23. ด.ช. ชัดเจนแบทสร้อยแสง อายุ8ป.2 โรงเรียน บางวัน
  24. ด.ช. ภูวดลพูชูแสงอายุ 10ป.4โรงเรียนบางวัน
  25. ด.ญ. จีรนันท์ไนท์ภูมา อายุ9ป.3 โรงเรียน บางวัน
  26. ด.ช. ปัญญวัฒน์เดมากมูล อายุ12ป.6โรงเรียนบางวัน
  27. ด.ช. ธนพลแบงค์พบด้วง อายุ13ป.6โรงเรียนบางวัน
  28. ด.ช. ชลวิทย์เวฟขาวสุด อายุ9ป.3 โรงเรียน บางวัน
  29. ด.ญ. นัฐชาแอ๋วทองดีนอกอายุ 10ป.4 โรงเรียน บางวัน
  30. ด.ญ. ฮัสนีนีปรางปราสาทอายุ 12ป.6 โรงเรียน บางวัน
  31. ด.ญ. ฮุสนานาปรางปราสาท อายุ12ป.6โรงเรียนบางวัน
  32. ด.ญ. ศิริลักษณ์เอิร์นไชยช่วย อายุ13ป.5โรงเรียนบางวัน
  33. ด.ช. มนชัยแบงค์เครือพยัคฆ์ อายุ10 โรงเรียน บางวัน
  34. ด.ช. นพเก้าว่านศรีแสง อายุ4 โรงเรียน บางวัน
  35. ด.ญ. กรุณามุกศรีฟ้า อายุ8โรงเรียนบางวัน
  36. ด.ญ. ชลิดาภีมชูแสง อายุ6โรงเรียนบางวัน
  37. ด.ญ. ทิพย์โอภาม่วงเมือง อายุ5โรงเรียนบางวัน
  38. ด.ญ. สิริเกศไนท์ทองเอียด อายุ11โรงเรียนบางวัน
  39. ด.ช. ซีรอสเจริญรัตน์อายุ 2โรงเรียนบางวัน
  40. ด.ญ. วรรณิสาหนูอินทร์ อายุ5โรงเรียนบางวัน
  41. ด.ช. วรวิทย์หนูอินทร์ อายุ7โรงเรียนบางวัน
  42. ด.ช. กฤษกรกรอินทร์พรม อายุ5โรงเรียนบางวัน
  43. ด.ช. สุทธิพงษ์หนูอินทร์ อายุ3โรงเรียนบางวัน
  44. ด.ช. อิทธิพลดวงจันทร์อายุ 3โรงเรียนบางวัน
  45. ด.ช. วรภาสรังษีแก้ว อายุ12โรงเรียนบางวัน
  46. ด.ญ. ปิยมาศเย็นใจอายุ 7 โรงเรียน บางวัน
  47. ด.ช. กันตพงษ์ทองม้ง อายุ7โรงเรียนบางวัน
  48. ด.ช. เทพพิทักษ์บุญคุ้ม อายุ10โรงเรียนบางวัน
  49. ด.ญ. สร้อยทิพย์ทองม้ง อายุ8 โรงเรียน บางวัน
  50. ด.ช. เด่นชัยสารคาญ อายุ10โรงเรียนบางวัน
  51. ด.ช. เจริญพรมแก้ว อายุ8โรงเรียนบางวัน
  52. ด.ญ. อรวียวนใจอายุ 8 โรงเรียน บางวัน
  53. ด.ญ. สุดารักษ์หมันมณี อายุ10 โรงเรียน บางวัน
  54. ด.ช. รอมดอนหมันมณี อายุ4 โรงเรียน บางวัน
  55. ด.ช. กอยูมหมันมณี อายุ5 โรงเรียน บางวัน
  56. ด.ญ. มรรณายุทธิอาท อายุ8 โรงเรียน บางวัน
  57. ด.ญ. รศิกานต์กะสิรักษ์ อายุ8โรงเรียนบางวัน
  58. ด.ช. วัชรินทร์ต้นสาลีอายุ 14โรงเรียนบางวัน
  59. ด.ช. เพิ่มพูนวงปัตตา อายุ12โรงเรียนบางวัน
  60. ด.ช. อาราฟัตรสาเหะมามะ อายุ8โรงเรียนบางวัน
  61. ด.ช. สมิธตันสาลา อายุ8โรงเรียนบางวัน
  62. ด.ช. สุรินทร์ต้นสาลี อายุ7 โรงเรียน บางวัน
  63. ด.ช. สุริยาต้นสาลีอายุ 8 โรงเรียน บางวัน
  64. ด.ช. ภูมินทร์กะสิรักษ์ อายุ7โรงเรียนบางวัน
  65. ด.ช. อัษฎายุธอรรคพงษ์อายุ 7โรงเรียนบางวัน
  66. ด.ช. นพรัตน์อรรคพงษ์อายุ 3 โรงเรียน บางวัน
  67. ด.ญ. สุกัญญาบุญประสพ อายุ9โรงเรียนบางวัน
  68. ด.ญ. ฮุสนีบุญประสพอายุ 3โรงเรียนบางวัน
  69. ด.ช. รุ่งโรจน์อ่อนสุวรรณ อายุ7โรงเรียนบางวัน
  70. ด.ญ. เดือนเพ็ญบุญรอดอายุ 8โรงเรียนบางวัน
  71. ด.ญ. อารยานาวงษ์อายุ 9โรงเรียนบางวัน
  72. ด.ญ. ฐิติมานวลประจวบ อายุ12 โรงเรียน บางวัน
  73. ด.ช. โซเลทุยพม่าอายุ 3 โรงเรียน บางวัน
  74. ด.ญ. ชาชิวินพม่า อายุ9 โรงเรียน บางวัน
  75. ด.ญ. แงเมโมพม่า อายุ5โรงเรียนบางวัน
  76. ด.ช. วภีศรชูแสง ฮ5โรงเรียนบางวัน
  77. ด.ญ. ปิยาพัทรหนักแน่นอายุ 6โรงเรียนบางวัน
  78. ด.ญ. อมรรัตน์ชูแสงอายุ 3 โรงเรียน บางวัน
  79. ด.ญ. อมรรัตน์หนักแน่น อายุ9โรงเรียนบางวัน
  80. ด.ช. อดิศักดิ์หนูอินทร์ อายุ7โรงเรียนบางวัน
  81. ด.ญ. พลอยชมพูใหมทอง อายุ12 โรงเรียน บางวัน
  82. ด.ช. ประกิจเจริญจิตต์ อายุ7 โรงเรียน บางวัน
  83. ด.ญ. ศิราณีเขตนครอายุ 6 โรงเรียน บางวัน
  84. ด.ญ. แอนนิต้าชนะคช อายุ7 โรงเรียน บางวัน
  85. ด.ญ. พิมขวัญชนกใหมทอง อายุ10 โรงเรียน บางวัน
  86. ด.ญ. สิริกานต์มูลมากมี อายุ 4 โรงเรียน บางวัน
  87. ด.ช. ปกาศิตแสงเมือง อายุ9โรงเรียนบางติบ
  88. ด.ญ. ปาริฉัตรน้ำ เพ็ชรขาว อายุ12ป.6 โรงเรียน นิลุบล
  89. ด.ช. คณาทิพย์ติวตันติวิวัฒน์ อายุ10ป.3โรงเรียนนิลุบล
  90. ด.ช. ธีรพงษ์ที ศรีฟ้าอายุ 9 โรงเรียน นิลุบล
  91. ด.ญ. ธันยพรนารุ่งเรืองอายุ6 โรงเรียน นิลุบล
  92. ด.ช. เธียรชั ย นวลจันทร์ อายุ7โรงเรียนนิลุบล
  93. ด.ญ. อัสมาอัสมาเกษมาน อายุ13ม.1 โรงเรียน ตำหนัง
  94. ด.ช. ฮาดิสอุมาสะ อายุ7 โรงเรียน ตำหนัง
  95. ด.ญ. สุดารัตน์นุ๊กบุญเสริมอายุ 13ม.1 โรงเรียน ตะกั่วป่าเสนานุกูล
  96. ด.ญ. กัญญารัตน์เฟิร์นมากมูลอายุ 13ม.1โรงเรียนตะกั่วป่าเสนานุกูล
  97. ด.ญ. มารีนาสาเหะมามะ อายุ4โรงเรียนโค้งศรราม
  98. ด.ญ. วีนัสอ่อนสุวรรณ อายุ4โรงเรียนโค้งศรราม
  99. ด.ช. ฟาอิดอ่อนสุวรรณ อายุ5โรงเรียนโค้งศรราม
  100. ด.ญ. กมลรัตน์จันทร์อินทร์ อายุ7 โรงเรียน คุระบุรีชุมชน
  101. ด.ญ. กัญลักษณ์ จันทร์อินทร์ อายุ 12 โรงเรียนคุระบุรีชุมชน
  102. ด.ช. อธิวัฒน์ ฟาคิส รุ่งเรือง อายุ1
  103. น.ส. พัชราภรณ์ ปลา เติมศักดิ์ อายุ18
  104. น.ส. เสาวรส ทราย รอดประชุม อายุ18
  105. ด.ญ. กิดาการณ์ อินทร์พรม อายุ 2
  106. ด.ช. พงศกร ทำนุ อายุ 2
  107. ด.ญ. หุสนีย์ ยุทธิอาท อายุ10
  108. ด.ช. นุฮา ยุทธิอาท อายุ4
  109. ด.ญ. ปริยกร นุ่นเพ็ชรขาวอายุ2
  110. ด.ช. ธีรเดช พรมแก้ว อายุ1
  111. ด.ช. ภานุพงษ์ รักบำรุง อายุ2
  112. ด.ช. กฤษฎา พลศรี อายุ2
  113. ด.ญ. ชินมา เอ้ พม่า อายุ12

คณะกรรมการจัดกิจกรรม

  1. นาย กฤษศรีฟ้า ประธาน มูลนิธิรักษ์พังงา
  2. นาง พรจันทร์ศรีฟ้ากรรมการมูลนิธิรักษ์พังงา
  3. นาย ยงยุทธโดยดีส.อบต.ม.1
  4. นาย ประเทืองเพ็ชรขาวส.อบต.ม.1
  5. น.ส. เมธินีสุขศรีนวลจนท.การเงิน
  6. นาย นิคมลำจวนเลขานุการ
  7. นาง กัลยากรพินทองกรรมการตัดสิน
  8. นาง รุจามาสลำจวนกรรมการตัดสิน
  9. นาย รวย รอด ประชุมผญบ.
  10. นาย สุชาติแก้วไชยทองผช.ผญบ.
  11. นาย สมใจบุญเสริมประธานกลุ่ม 1
  12. นาย นิตย์จันทำประธานกลุ่ม 4
0.00 0.00 70 125 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปของกิจกรรมวันเด็กดี 8 ประการ มีดังนี้

1.มีการจัดกิจกรรมละลายพฤติกรรม โดย อบต.ยงยุทธ โดยดี

  • กิจกรรมที่ 1 เริ่มกิจกรรมชื่อชุด เรารักหนังสือพิมพ์ วิธีเล่น ใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ 1 แผ่น/กลุ่ม และให้แต่ละกลุ่มยืนบนหนังสือพิมพ์ให้ได้ ใครไม่ผ่านถือว่าแพ้ ส่วนกลุ่มผู้ชนะ  ต้องมาแข่งอีกครั้ง โดยให้พับหนังสือพิมพ์อีกครึ่งหนึ่ง แล้วให้แต่ละกลุ่มยืนบนหนังสือพิมพ์ที่พับ  ผลปรากฎว่า ทุกกลุ่มไม่สามารถยืนบนกระดาษหนังสือพิมพ์ได้

    • สรุป เกมส์นี้มีเป้าหมายเพื่อให้ททุกคนภายในกลุ่มมีความสามัคคีกัน ที่จะกอดกันช่วยกันให้ทีมยืนบนกระดาษให้ได้
  • กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมแข่งขันอ่านข้อความ 8 ความดี โดยให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาอ่านความดี 8 ประการ

  • กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมให้คิดความดี 2 ประการให้ได้ โดยแต่ละกลุ่มส่งตัวแทน 2 คน กิจกรรมนี้จะมีคณะกรรมการเพื่อตัดสินกลุ่มที่ชนะ เพื่อรับรางวัลชนะเลิศคือจักรยาน 1 คน (โดยกลุ่มผู้ได้รับจะจับแลากผู้โชคดีภายในกลุ่ม) ผลปรากฎว่า กลุ่มที่มีคณะชนะเลิศคือ กลุ่มที่ 5
  • กิจกรรมสุดท้าย แจกรางวัลให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด ส่วนเวลาพัก ทุกคนร่วมรับประทานอาหารร่วมกัน

2.ผลการจัดกิจกรรม ทำให้เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมมาเกินความคาดหมายที่ตั้งไว้ และทุกคนได้ทราบถึงความดี 8 ประการว่ามีอะไรบ้าง เด็กๆ มีความรักความสามัคคีกัน ร่วมกันทำกิจกรรมกันอย่างสนุกสนาน เด็กๆ ทุกโรงเรียนสามารถที่จะมาอยู่ด้วยกันได้ด้วยความสามัคคี และผู้ปกครองที่มาร่วมด้วยได้เห็นการทำงานของคณะความดี 8 ประการ และมีความเข้าใจมากขึ้น

นักเรียนโรงเรียนบ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5 47.ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  47. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  48. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  49. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  50. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  51. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  52. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  53. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  54. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  55. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6

และคณะทำงาน

1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปกิจกรรม ดังนี้

นายดำ ศรีประเสริฐ ได้เล่าถึงพุทธประวัติ พระพุทธเจ้าทรงตั้งพระทัยแน่วแน่ว่าจะบรรลุโพธิญาณ ประทับหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออกพิจารณาจนเกิดความรู้แจ้ง คือ

  1. เวลาปฐมยาม ทรงได้ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ ความรู้เป็นเหตุให้ระลึกชาติได้
  2. เวลามัชฌิมยาม ทรงได้จุตูปปาตญาณ(ทิพยจักษุญาณ)คือรู้เรื่องเกิด-ตายของสัตว์ทั้งหลายว่า เป็นไปตามกรรมที่ตนกระทำไว้
  3. เวลาปัจฉิมยาม ทรงได้ อาสวักขยญาณ คือ ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะหรือกิเลส หมายถึง ตรัสรู้อริยสัจ 4
  • ทรงบรรลุรูปฌาณทั้ง 4 ชั้น แล้วใช้สติปัญญา
  • อาสวักขยญาณ ที่ทรงได้ทำให้ทรงพิจารณาถึงขันธ์ 5 และใช่แห่งความเป็นเหตุที่ เรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท อันเป็นต้นทางให้เขาถึงอริยสัจ 4
  • เมื่อพระองค์ทรงรู้เห็นแล้ว จึงละอุปาทานและตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้สรุปข้อคิดว่า แนวทางที่พระพทธเจ้าทรงตรัสรู้ได้ ก็คือ วัฐจักรของชีวิตนั่นเอง การเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นสิ่งทุกคนหรือนักเรียนไม่อาจจะหลุดพ้นได้ นั่นคือสัจจธรรม
  • เพราะฉนั้น ทุกคนโดยเฉพาะนักเรียน จะต้องหมั่นสร้างความดีให้มากที่สุด  ความดีที่ทุกคนควรนำมาปฏิบัติ ก็คือ ศิล 5

รายชื่อเด็กดี 8 ประการ (17 ม.ค.58) นอกพื้นที่ (พลับพลึงธาร/นิทรรศการเรือพระทอง)

  1. ด.ญ. ปาริฉัตร ( น้ำ) เพ็ชรขาว อายุ 12 ปี ป.6 โรงเรียนนิลุบล
  2. ด.ญ. สาวิตตรี ( กู๊กไก่) วงศ์สุวรรณ อายุ 9 ปี ป.3 โรงเรียนบางวัน
  3. ด.ญ. วนิดา ( ฟิล์ม ) พบด้วง อายุ 10 ปี ป.3 โรงเรียน บางวัน
  4. ด.ญ. ปภาดา ( ใบเตย ) รุ่งเรือง อายุ 9 ปี ป.3 โรงเรียน ย่านยาว
  5. ด.ช. มนัส นัส จันทร์เนตร อายุ 10 ปี ป.4 โรงเรียนย่านยาว
  6. ด.ช. สุริยันต์ ( ไบร์ท) พบด้วง อายุ 12 ปี ป.6 โรงเรียนบางวัน
  7. ด.ช. เชาวเลิศ ( ดรีม ) ขาวสุด อายุ 10 ปี ป.4 โรงเรียน บางวัน
  8. ด.ช. กิติกร ( โกโก้) บุญสุวรรณ อายุ 7 ปี ป.1 โรงเรียน บางวัน
  9. ด.ช. สรวิทย์ (บูม) สุขภมนตรี อายุ 8 ปี ป.2 โรงเรียนบางวัน
  10. ด.ช. อภิสิทธิ์ ( ปาล์ม) มากมูล อายุ 8 ปี ป.2 โรงเรียน บางวัน
  11. ด.ช. ชัดเจน (แบท) สร้อยแสง อายุ 8 ปี ป.2 โรงเรียนบางวัน
  12. ด.ช. ภูวดล ( พู ) ชูแสง อายุ 10 ปี ป.4 โรงเรียน บางวัน
  13. ด.ญ. จีรนันท์ (ไนท์ ) ภูมา อายุ 9 ปี ป.3 โรงเรียนบางวัน
  14. ด.ญ. สุดารัตน์ ( นุ๊ก) บุญเสริม อายุ 13 ปี ม.1 โรงเรียนตะกั่วป่าเสนานุกูล
  15. ด.ญ. รมัณยา ( เบล) คำเอียด อายุ 14 ปี ม.2 โรงเรียน ย่านยาว
  16. ด.ญ. เบญทิพย์ (พลอย ) กลักดวงจิตร อายุ 12ปี ป.6 โรงเรียน ย่านยาว
  17. ด.ญ. สมฤทัย (เอม ) หนูอินทร์ อายุ 12 ปี ป.6 โรงเรียนย่านยาว
  18. ด.ช. คณาทิพย์ ( ติว ) ตันติวิวัฒน์ อายุ 10 ปี ป.3 โรงเรียน นิลุบล
  19. ด.ช. นันทวัฒน์ ( เอก) แก้วประเสริฐ อายุ 9 ปี ป.2 โรงเรียนบางวัน
  20. ด.ช. ปัญญวัฒน์ ( เด) มากมูล อายุ 12 ปี ป.6 โรงเรียนบางวัน
  21. ด.ญ. กัญญารัตน์ ( เฟิร์น ) มากมูล อายุ 13 ปี ม.1 โรงเรียนตะกั่วป่าเสนานุกูล
  22. ด.ช. ธนพล (แบงค์) พบด้วง อายุ 13 ปี ป.6 โรงเรียนบางวัน
  23. ด.ช. ชลวิทย์ (เวฟ ) ขาวสุด อายุ 9 ปี ป.3 โรงเรียนบางวัน
  24. ด.ญ. นัฐชา ( แอ๋ว) ทองดีนอก อายุ 10 ปี ป.4 โรงเรียนบางวัน
  25. ด.ญ. วาสิฏฐี ( ขวัญ) ล้อมเขียว อายุ 12 ปี ป.6 โรงเรียนบางวัน
  26. น.ส. วาสนา ( แคท) ล้อมเขียว อายุ 17 ปี ม.6 โรงเรียนย่านยาว
  27. ด.ญ. มัสนา (มัสนา) เขน็ดพืช อายุ 14 ปี ม.2 โรงเรียนย่านยาว
  28. ด.ญ. นารีกิต ( นารีกิต) เขน็ดพืช อายุ 12 ปี ป.6 โรงเรียนย่านยาว
  29. ด.ญ. ฮัสนี (นี ) ปรางปราสาท อายุ 12 ปี ป.6 โรงเรียน บางวัน
  30. ด.ญ. อรกมล (อ้อม) จิตต์เที่ยง อายุ 9 ปี ป.3 โรงเรียน ตำหนัง
  31. ด.ญ. ฮุสนา ( นา ) ปรางปราสาท อายุ 12 ปี ป.6 โรงเรียน บางวัน
  32. ด.ญ. อัสมา ( อัสมา) เกษมาน อายุ 13 ปี ม.1 โรงเรียนตำหนัง
  33. ด.ญ. วิยะดา (น้ำฝน) จิตต์เที่ยง อายุ 13 ปี ม.1 โรงเรียน ย่านยาว
  34. ด.ญ. ศิริลักษณ์ ( เอิร์น ) ไชยช่วย อายุ 13 ปี ป.5 โรงเรียนบางวัน

ผู้ควบคุมดูแล

1 . นาง พรจันทร์ ศรีฟ้า
2. นาย ยงยุทธ โดยดี
3. นาย ประเทือง เพ็ชรขาว
4 . น.ส. เมธินี สุขศ รีนวล
5 . นาย นิคม ลำจวน

0.00 0.00 40 39 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรมในวันนี้

1.จำนวนเด็กที่มาร่วมกิจกรรมทั้งหมด 34 คน สรุปได้ดังนี้

  • เพศชาย จำนวน  13  คน เพศหญิง 11 คน
  • รร.บ้านบางวัน 19 คน ,รร.นิลุบล 2 คน, รร.ย่านยาว 9 คน, รร.ตำหนัง 2 คน,รร.เสนานุกูล 2 คน
  • อายุ 7 ปี 1 คน, อายุ 8 ปี 3 คน,อายุ 9 ปี 6 คน,อายุ 10 ปี 6 คน, อายุ 12 ปี 9 คน,อายุ 13 ปี 6 คน,อายุ 14 ปี 2 คน,อายุ 17 ปี 1 คน
  • ระดับการศึกษา ชั้น ป.1 จำนวน 1 คน ,ชั้น ป.2 จำนวน 4 คน,ชั้น ป.3 จำนวน 7 คน,ชั้น ป.4 จำนวน 4 คน,ชั้น ป.5 จำนวน 1 คน,ชั้น ป.6 จำนวน 10 คน ,ชั้น ม.1 จำนวน 4 คน,ชั้น ม.2 จำนวน 2 คน ,ชั้น ม.6 จำนวน 1คน

2.จัดกลุ่มเด็กโดยคัดรุ่นพี่ จำนวน 4 คน ดังนี้

  • กลุ่ม 1 ด.ญ.กัญญารัตน์ มากมูล
  • กลุ่ม 2 ด.ญ.สุดารัตน์ บุญเสริม
  • กลุ่ม 3 ด.ญ.รมันยา คำเอียด
  • กลุ่ม 4 ด.ญ.มัสนา เขน็ดพืช

3.จัดผู้ดูแลรับผิดชอบแต่ละกลุ่ม เพื่อดูแลเด็ก ดังนี้

  • กลุ่ม 1 นางสาวเมธินี สุขศรีนวล
  • กลุ่ม 2 นายประเทือง เพ็ชรขาว
  • กลุ่ม 3 นายยงยุทธ โดยดี
  • กลุ่ม 4 นายนิคม ลำจวน  โดยมีนางพรจันทร์ ศรีฟ้า เป็นผู้รับผิดชอบดูแล

4.เด็กๆ ได้รับความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลับพลึงธาร ซึ่งเป็นพืชน้ำที่มีอยู่แห่งเดียว ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ เพราะฉนั้นจึงต้องช่วยกันรักษาและช่วยกันสนับสนุนการปลูกให้ยืนยาว สมกับเป็นราชินีแห่งสายน้ำ
5.เด็กๆ ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรือพระทอง ซึ่งเป็นเรือหลวงที่ปลดระวางและทางชาวพังงาได้ขอมาเพื่อมาจมใต้ทะเลใกล้กับเกาะพระทอง โดยให้เป็นที่อาศัยของปะการัง สัตว์น้ำต่างๆ และจัดให้เป็นอุทยานใต้ทะเลที่สวยงาม ซึ่งจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญอีกแห่งของจังหวัดพังงาและของประเทศไทย 6.เด็กๆ ได้รับความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่าทะเลที่นับว่าจะใกล้สูญพันธุ์

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  50. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  51. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  52. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  53. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  54. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  55. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6

และคณะทำงาน

1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปกิจกรรม

  • นายดำ ศรีประเสริฐ ได้อธิบายและเล่าเรื่องเกี่ยวพุทธประวัติช่วงที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดปัญจวัคคีย์ แสดงปฐมเทศนาจนพระอัญญาโกญญะบรรลถึงโสดาบรรณ
  • นายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้อธิบายเสริมว่า เมื่อพระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้รู้แจ้งเห็นจริงแล้ว  ก็มีแนวคิดที่จะเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้แก่บุคคลอื่นด้วย
    แสดงให้เห็นถึง ความตั้งใจ ความพยามยามของพระองค์ท่านที่จะให้บุคคลอื่นหรือคนทั่วไปได้รับรู้ด้วย

นักเรียนโรงเรียนบ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปของกิจกรรม มีดังนี้

  • นายดำ ศรีประเสริฐ ได้เล่าถึงพุทธประวัติในช่วงที่พระพทธเจ้าทรงแสดงธรรมจักกัมปวัฒนสูตรในช่วงพรรษาแรก
  • นายสถิตยื ศรีฟ้า สรุปให้นักรียนได้ว่า คำว่า เข้าพรรษา หมายถึง การที่กิจของพระสงฆ์ที่อยู่วัด จะต้องปฏิบัติกิจอยู่ภายในเขตวัด ห้ามไปค้างแรมที่ไหน หรือเกิดเกตุสุดวิสัย เช่น โยมพ่อดยมแม่เจ็บป่วย  โดยมีเวลา 3 เดือน ประมาณ  เดือน 8 จนถึงเดือน 10 ของทุกปี
  • คำว่า ธรรมจักกัมปวัฒนสูตร หมายถึง ธรรมะที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรก  คือ การปฏิบัติทางสายกลาง  นักเรียนก็ต้องปฏิบัติในสิ่งที่พอดีพองาม ไม่โลภ ไม่โทสะ ตั้งใจเรียนดีที่สุด

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน รร.บ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลกิจกรรม

  • พระสหายและครอบครัวได้อุบาสกอุบาสิกาครั้งแรกในพระพุทธศาสนาแล้วส่งพระสาวกออกเผยแผ่พระพุทธศาสนาครั้งแรก มีพระสงฆ์ 60 องค์เป็นพระอรหันต์ทั้งนั้น

นักเรียนโรงเรียนบ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลกิจกรรม ดังนี้

  • นายดำ ศรีประเสริฐ ได้เล่าถึง พุทธประวัติของพระพุทธเจ้า เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าเสด็จไปกรุงราชคฤห์เพื่อโปรด พระเจ้าพิมพิสารเกิดความเลื่อมใสสร้างวัดถวายคือ วัดเวฬุวันมหาวิหาร เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา แสดงให้เห็นว่า ศาสนาพุทธนั้นมีผู้คนนับถือเลื่อมใสและเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมากในสมัยนั้น
  • นายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้อธิบายถึงแนวทางปฏิบัติของนักเรียน ที่สามารถปฏิบัติได้
  1. การทำความดี นักเรียนสามารถทำความดีด้วยตนเองก่อนเพื่อน เช่น การช่วยเหลือตนเองที่สามารถทำได้ ตื่นนอนเอง อาบน้ำเอง ซักผ้าเอง
  2. การทำความดี ต่อพ่อแม่ เช่น การช่วยเหลือพ่อแม่ทงานบ้าน เช่น ล้างถ้วยล้างจาน ถูบ้าน
  3. การทำความดีต่อผู้อื่น เช่น เพื่อน การไม่ทะเลาะเบาะแว้ง

นักเรียนโรงเรียนบ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปของกิจกรรม ดังนี้

นายดำ ศรีประเสริฐ ได้อธิบายถึง วันสำคัญทางศาสนา คือ วันมาฆะบูชา – วันวิสาขะบูชา-วันอาสาฬะบูชา และสังเวชนียสถาน 4

วันมาฆบูชา ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓

  1. เป็นวันที่ พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า จำนวน ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมพร้อมกันที่เวฬุวันวิหารในกรุงราชคฤห์ โดยมิได้นัดหมาย
  2. พระภิกษุสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" คือเป็นผู้ที่ได้รับการอุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจ้าทั้งสิ้น
  3. พระภิกษุสงฆ์ทุกองค์ที่ได้มาประชุมในครั้งนี้ ล้วนแต่เป็นผุ้ได้บรรลุพระอรหันต์แล้วทุก ๆองค์
  4. เป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวงกำลังเสวยมาฆฤกษ

วันวิสาขะบูชา ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖

  • ความสำคัญ วันวิสาขบูชา เป็นวันสำคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่พระพุทธเจ้าประสูติ คือเกิด ได้ตรัสรู้ คือสำเร็จ ได้ปรินิพพาน คือ ดับ เกิดขึ้นตรงกันทั้ง ๓ คราวคือ
  1. เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติที่พระราชอุทยานลุมพินีวัน ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับเทวทหะ เมื่อเช้าวันศุกร์ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีจอ ก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี
  2. เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้าเมื่อพระชนมายุ ๓๕ พรรษา ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธิ์ ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ในตอนเช้ามืดวันพุธ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีระกา ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี หลังจากออกผนวชได้ ๖ ปี ปัจจุบันสถานที่ตรัสรู้แห่งนี้เรียกว่า พุทธคยา เป็นตำบลหนึ่งของเมืองคยา แห่งรัฐพิหารของอินเดีย
  3. หลังจากตรัสรู้แล้ว ได้ประกาศพระศาสนา และโปรดเวไนยสัตว์ ๔๕ ปี พระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา ก็เสด็จดับขันธปรินิพพาน เมื่อวันอังคาร ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีมะเส็ง ณ สาลวโนทยาน ของมัลลกษัตริย์ เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ (ปัจจุบันอยู่ในเมือง กุสีนคระ) แคว้นอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย

วันอาสาฬหะบูชา ตรงกับวันเพ็ญ เดือน 8 ก่อนวันเข้าพรรษา 1 วัน

  • เป็นวันที่พุทธศาสนิกชนแสดงความเคารพต่อพระสงฆ์ อาสาฬหเป็นชื่อเดือน ๘ อาสาฬหบูชาย่อมาจากคำว่าอาสาฬหบูรณ มีบูชา แปลว่า การบูชาพระในวันเพ็ญเดือน ๘ ถ้าปีใดมีเดือน ๘ สองครั้ง ก็จะ เลื่อนไปเป็นวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๘ หลัง
    หลังจาก สมเด็จพระพุทธองค์ ได้ตรัสรู้ในวันเพ็ญ เดือน 6 แล้ว ได้ทรงใช้เวลาทบทวนสัจธรรมและทรงคำนึงว่าธรรมะที่พระองค์ตรัสรู้นี้ลึกซึ้งมาก ยากที่ผู้อื่นจะรู้ตาม แต่อาศัยพระกรุณานี้เป็นที่ตั้ง
  • จึงทรงมีพระกรุณาธิคุณ ระลึกอาฬารดาบสและอุททกดาบสว่า มีกิเลสเบาบางสามารถตรัสรู้ได้ทันที แต่ท่านทั้ง 2 ได้ตายแล้ว จึงทรงระลึกถึงปัญจวัคคีย์ ได้ทรงแสดงพระธรรมเทศนาแก่ปัญจวัคคีย์ ทั้ง 5 คือ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสชิ ซึ่งล้วนแล้วแต่ เป็นผู้อุปฐากพระพุทธเจ้าเมื่อครั้งยังทรงบำเพ็ญทุกข์กิริยาอยู่ พระธรรมที่ พระพุทธองค์ทรงเทศนาในครั้งนี้มี ชื่อ ธรรมจักกัปปวัตนสูตร ซึ่งมี อริยสัจ ๔ หรือความจริงอันประเสริฐ ๔ ประการ ได้แก่
  1. ทุกข์ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
  2. สมุทัย เหตุให้เกิดทุกข์
  3. นิโรธ ความดับทุกข์
  4. มรรค ข้อปฎิบัติให้ถึงความดับทุกข์

นายสถิตย์ ศรีฟ้า ได้ให้ข้อปฏิบัติแก่นักเรียนถึงวันสำคัญทางศาสนาดังกล่าว ก็คือ การปกิบัติตามประเพณีนับถือที่ผ่านมา

  1. การตักบาตรทำบุญที่วัด จะทำให้นักเรียนรู้จักการให้ ทำให้ประเพณีสืบทอดต่อไป
  2. การได้เข้าท่องบทสวดมนต์ต่างๆ ในพิธีในวันสำคัญทางศาสนา เป็นสิ่งที่ดี ทำให้จิตใจสงบ
  3. การนั่งสมาธิ จะทำให้มีสติสัมปชัญญะนิ่ง เรียนหนังสือได้ดี

นักเรียน รร.บ้านบางวัน

  1. ด.ญ. ชาชิวิน พม่า ป.1
  2. ด.ช. อาวอาว พม่า ป.1
  3. ด.ญ. อิอิไล พม่า ป.1
  4. ด.ญ. แอนนิต้า ชนะคช ป.1
  5. ด.ช. ซอไลอู้ พม่า ป.1
  6. ด.ช. สุรินทร์ ต้นสาลี ป.1
  7. ด.ญ. ฐิติรัตน์ วิรุลศรี ป.1
  8. ด.ญ. วราภรณ์ รอดประชุม ป.1
  9. ด.ช. ปิยะภพ ใมมะมุด ป.1
  10. ด.ญ. ปรียาพร หล้าเหม ป.1
  11. ด.ญ. เพทตี้ พม่า ป.1
  12. ด.ช. กิติกร วงศ์สุวรรณ ป.1
  13. ด.ช. วัชระ เริงศิริ ป.1
  14. ด.ญ. นิกานดา สวัสดี ป.1
  15. ด.ช. สุริยา ต้นสาลี ป.1
  16. ด.ช. อัษฏายุธ อรรคพงษ์ ป.1
  17. ด.ช. วรวิทย์ หนูอินทร์ ป.1
  18. ด.ช. อดิศักดิ์ หนูอินทร์ ป.1
  19. ด.ช. กันตพงษ์ ทองมัง ป.1
  20. ด.ญ. วรัทยา ขาวสุด ป.1
  21. ด.ญ. ฐาปนี กุลสวรรค์ ป.2
  22. ด.ช. สรวิชญ์ สุขภิมนตรี ป.2
  23. ด.ช. นันทวัฒน์ แก้วประเสริฐ ป.2
  24. ด.ช. อภิสิทธิ์ มากมูล ป.2
  25. ด.ญ. เดือนเพ็ญ บุญรอด ป.2
  26. ด.ช. ชัดเจน สร้อยแสง ป.2
  27. ด.ช. อมรินทร์ ชนะคช ป.2
  28. ด.ช. เจริญ พรมแก้ว ป.2
  29. ด.ญ. กรุณา ศรีฟ้า ป.2
  30. ด.ญ. อรวี ยวนใจ ป.2
  31. ด.ช. สมิทธ์ ต้นสาลี ป.2
  32. ด.ช. บุญทิ้ง พม่า ป.2
  33. ด.ญ. วนิดา พบด้วง ป.3
  34. ด.ญ. จีระนันท์ ภูมา ป.3
  35. ด.ญ. แนะ พม่า ป.3
  36. ด.ญ. สาวิตรี วงศ์สุวรรณ ป.3
  37. ด.ช. ชลวิทย์ ขาวสุด ป.3
  38. ด.ช. ซูซูกา พม่า ป.3
  39. ด.ช. เชาว์เลิศ ขาวสุด ป.4
  40. ด.ช. ภูวดล ชูแสง ป.4
  41. ด.ช. เด่นชัย สาระคาญ ป.4
  42. ด.ช. มนชัย เครือพยัคฆ์ ป.4
  43. ด.ญ. นัฐชา ทองดีนอก ป.4
  44. ด.ช. ตั้ม พม่า ป.4
  45. ด.ช. เว พม่า ป.5
  46. ด.ญ. ศิริรัตน์ ไชยช่วย ป.5
  47. ด.ญ. สิริเกศ ทองเอียด ป.5
  48. ด.ช. ธนพล พบด้วง ป.6
  49. ด.ช. วัชรินทร์ ต้นสาลี ป.6
  50. ด.ญ. นวรัตน์ ใมมะมุด ป.6
  51. ด.ญ. วาสิฏฐี ล้อมเขียว ป.6
  52. ด.ช. เพิ่มพูล วงปัตตา ป.6
  53. ด.ช. สุริยัน พบด้วง ป.6
  54. ด.ญ. ฐิติมา นวลประจวบ ป.6
  55. ด.ญ. เพ็ญนภา หล้าเหม ป.6
  56. ด.ช. ปัญญาวัฒ มากมูล ป.6
1,200.00 1,200.00 60 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลสรุปกิจกรรม มีดังนี้

ข้อสอบปรนัยวัดผลการสอนธรรมะในโรงเรียน

ข้อ 1 พระราชบิดาของพระพุทธเจ้าคือใคร

ก. พระเจ้าสุปะพุทธะ ข. พระเจ้าสุทโทธนะ
ค. พระเจ้าสุกโกธะนะ

ข้อ 2 วันมาฆะบูชาตรงกับวันอะไร

ก. วันเพ็ญ เดือน 6
ข. วันเพ็ญ เดือน 8
ค. วันเพ็ญ เดือน 3

ข้อ 3. พระสาวกหรือพระสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนาคือใคร

ก. พระสารีบุตร
ข. พระอานนท์
ค. พระอัญญาโกณฑัณญะ

ข้อ 4 วัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา คือวัดอะไร

ก. วัดเชตวันมหาวิหาร
ข. วัดเวฬุวันมหาวิหาร
ค. วัดโฆสิตารามหาวิหาร

ข้อ 5 เจ้าชายสิทธัตถะบำเพ็ญทุกกริยาบทอยู่กี่ปี จงได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ก. 35 ปี
ข. 8 ปี
ค. 6 ปี

ข้อ 6 คำว่า “กาเมสุมิจฉาจารา” อยู่ในศีลข้อใด

ก. ข้อ 4
ข. ข้อ 2
ค. ข้อ 3

ข้อ 7 สังเวชนียสถานที่เราชาวพุทธควรจะไปสักการบูชามีกี่แห่ง

ก. 1 แห่ง
ข. 3 แห่ง
ค. 4  แห่ง

ข้อ 8 พระสาวกปัญจวัคคีย์มีกี่องค์

ก. 4 องค์
ข. 5 องค์
ค. 6 องค์

ข้อ 9 วันมาฆะบูชามีพระสาวกหรือพระสงฆ์ที่เข้าฟังโอวาทะปาติโมกข์ จำนวนทั้งหมดกี่องค์

ก. 1,200 องค์
ข. 1,250 องค์
ค. 1,150 องค์

ข้อ 10 พระพุทธเจ้าทรงจำพรรษาอยู่ที่ใด

ก. คงคาสิริ
ข. ป่าอิสิปะตะมฤคทายวัน
ค. เมืองพาราณสี


ผลการสอบวัดผลการเรียนธรรมะมีดังนี้

1.คะแนนสุงสุดจำนวน 5 คน คือ

  • ด.ช.เชาวเลิศ ขาวสุด
  • ด.ญ.สิริเกศ ทองเอียด
  • ด.ญ.ฐิติมา นวลประจวบ
  • ด.ช.วัชรินทรื ต้นสาลี
  • ด.ช.เด่นชัย สาระคาญ

2.นักเรียนที่มีความตั้งใจ สนใจ ใฝ่ธรรมะ  มี 8 คน ดังนี้

  • ด.ช.ภูวดล ชูแสง
  • ด.ช.สรวิชญ์ สุขภิมนตร
  • ด.ช.ธนพล พบด้วง
  • ด.ญ.วรัทยา ขาวสุด
  • ด.ญ.วาสิฏฐี ล้อมเขียว
  • ด.ญ.กรุณา ศรีฟ้า
  • ด.ญ.สุดารัตนื หมันมณี
  • ด.ญ.ฮุสนา ปรางปราสาท

บทสรุปภาพรวมของกิจกรรมสอนธรรมะในโรงเรียนบ้านบางวัน มีดังนี้

  1. เด็กนักเรียนได้มีโอกาสเข้าวัด ซึ่งเป็นสิ่งที่บางคนนั้นยังไม่เคยได้ย่างก้าวเข้าวัดเลย
  2. สามารถกล่อมเกลาเพื่อให้ถึงความดีโดยใช้เนื้อเรื่องของพุทธประวัติ มาเป็นแนวทางในการสอนการทำความดี
  3. เด็กนักเรียนมีโอกาสได้ใกล้ชิดหรือพบเห็นกิจกรรมของพระในพระพุทธศาสนา
  4. เด็กนักเรียนบางคนที่มีความก้าวร้าวในช่วงแรกๆ ก็สามารถที่จะมีสมาธิที่ดีขึ้น โดยจากการสังเกตุเมื่อจบกิจกรรม
  5. ผลต่อเนื่องจากกิจกรรม ทำให้มีนักเรียนได้เข้าสู่กิจกรรมบวชเณรภาคฤดูร้อนมากขึ้น
  6. นักเรียนได้ข้อคิด ข้อปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง
  • นักเรียนที่เข้าร่วมบรรพชา
0.00 0.00 20 19 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมบรรพชาได้โกนผมและนุ่งขาวห่มขาว
  2. หลังจากทำขวัญนาค นาคมีความรู้สึกกตัญญูรู้คุณพ่อแม่มากขึ้น
  • ผู้ที่ทำขวัญนาคสอนสั่งนั้น เป็นหมอขวัญนาคในท้องถิ่นอยู่ที่บ้านบางม่วง
  • ความสำคัญของการทำขวัญนาคเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทราบถึงหรือระลึกถึงคุณงามความดีของพ่อแม่ที่ได้เลี้ยงดูมา  โดยการทำขวัญนาคจะดำเนินเรื่องตั้งแต่ได้ตั้งท้องจนกระทั่งคลอด  และเลี้ยงดูจนโต  ว่ามีความลำบากยากเย็นเพียงใด ที่ทุกคนจะต้องสำนึกถึงบุญคุณท่าน โดยการบวชเรียนในครั้งนี้
  • การทำขวัญนาคนั้น หลักใหญ่เพื่อที่จะเตือนใจพ่อนาคให้ระลึกถึงบุญคุณของบิดา มารดาที่ได้อุ้มชูมา นับจากเริ่มตั้งครรภ์ มารดาต้องประคับประคองทนทุกข์ยากกระวนกระวายมาตลอดทศมาศ ครั้นเมื่อบุตรคลอดออกมาแล้ว บิดา มารดาก็ดีใจปลื้มใจด้วยจิตเมตตารักสงสาร สู้ทะนุถนอมกล่อมเกลี้ยงเลี้ยงบำรุงมา เลือดในกายของแม่แปรเปลี่ยนมาเป็นน้ำนมให้ลูกดื่ม ยามใดที่ลูกร่ำร้อง แม่ก็ขับกล่อมปลอบโยนไม่ให้ลูกต้องวิปโยค ยามใดที่บุตรกระวนกระวาย พ่อแม่ก็กายามาบำบัดนับเป็นเวลาช้านาน กว่าลูกชายของแม่จะเจริญวัยแก่กล้า  พ่อแม่พร่ำสอนให้ลูกรู้จักพูดจา รู้จักเดิน รู้จักกิน รู้จักนอน จนถึงลูกรู้จักทำงานหาเงินมาเลี้ยงชีวิตของตนได้  อีกอย่างในการทำขวัญนาคนั้น เมื่อจะมาเป็นนาค นุ่งขาวห่มขาวจะต้องปลงผมโกนคิ้ว ขวัญของพ่อนาคที่อยู่ปลายผม เมื่อโกนผมออกไปขวัญก็หายไปด้วย จึงต้องทำการเรียกขวัญให้มาอยู่กับเนื้อกับตัวอย่างเดิม  ครั้นจะกล่าวอะไรกันไปมากกว่านี้ก็จะเปลืองเวลากันมากไปอีก จะขอเริ่มพิธีทำขวัญนาคกันเลย ขอให้พ่อนาคทำใจให้แน่วแน่และตั้งใจฟังเรื่องราวที่เป็นประโยชน์ได้ ณ บัดนี้”

  • บทกลอนในการกล่าวทำขวัญนาค มีว่า ขวัญเจ้าเอ๊ย... อย่าไป  จงกลับมา  มาอยู่ยืนชื่นเชยอย่าเฉยชา  มานะมิ่งขวัญมา  อย่าถือดี  รุ่งพรุ่งนี้ขวัญพ่อจะบริสุทธิ์  เป็นบุตรพระพุทธเบื้องบาทบงสุ์  ศีลพระอริยสงฆ์ทรงสิกขา พ่อจะได้โปรดพระบิดรและมารดาพรุ่งนี้แน่

  • เยาวชน
0.00 0.00 20 19 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการจัดกิจกรรม

  • ผู้เข้าร่วมบรรพชาได้บรรพชาสู่ความเป็นสามเณรทั้งหมด 19 รูป และจำวัดอยู่ ณ วัดบางวัน โดยจะศึกษาธรรมะเพื่อให้ได้ความรู้ต่อไป โดยมีนายดำ ศรีประเสริฐ และนายสถิตย์ ศรีฟ้า ปราชญ์ชาวบ้านได้มาร่วมบรรยายธรรมให้กับสามเณร รายชื่อผู้เข้าร่วมบรรพชา มีดังนี้
  1. ด.ช.ทิวากร    มหาโชติ
  2. ด.ช.ปิยะภพ  ใมมะมุด
  3. ด.ช.ชลวิทย์    ขาวสุด
  4. ด.ช.ไกรวิชญ์  ศิริสัมพันธ์
  5. ด.ช.ธนวัฒน์  สังข์ขาว
  6. ด.ช.นันทวัฒน์  แก้วประเสริฐ
  7. ด.ช.เอกรัตน์ บัวหลวง
  8. ด.ช.คณาธิป ตันติวิวัฒน์
  9. ด.ช.สิทธิโชค บุญเสริม
  10. ด.ช.สุริยัน พบด้วง
  11. ด.ช.ปัญญากร อุทน
  12. ด.ช.ทัศกรณ์ ศรีประเสริฐ
  13. ด.ช.วัชรินทร์ ต้นสาลี
  14. ด.ช.มนัส จันทร์เนตร
  15. ด.ช.ธนพล พบด้วง
  16. นายวงศ์ตะวัน สร้อยแสง
  17. นายอมรศักดิ์ เกิดผล
  18. นายสมยศ หนูอินทร์
  19. นายบุญญฤทธิ์ จรมาศ

กิจกรรมหลัก : การบริหารจัดการโครงการi

14,100.00 226 ผลผลิต

-เป็นไปตามแผนงาน แผนเงิน และเวลาที่กำหนด -ได้ให้ความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรมตามที่ สสส กำหนดทุกครั้ง -เอกสารมีความครบถ้วนและครบถ้วน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

-การเบิกเงินสอดคล้องกับกิจกรรม -มีการจัดเก็บเอกสารครบถ้วน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ตัวแทนครัวเรือน
  • ผู้นำชุมชน
  • คณะครู
  • คณะกรรมการ

จำนวน 60 คน

14,100.00 6,000.00 226 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลจากการประชุม โดยคุณกฤษ ศรีฟ้า ผู้รับผิดชอบโครงการได้สรุปการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา มีดังนี้

สรุปประเมินผลโครงการโดยคณะทำงาน โครงการสร้างสังคมมีสุขด้วยครอบครัวคุณภาพ ม.1 ต.บางวัน อ.คุระบุรี จ.พังงา

  • ชุมชนบ้านบางวันเป็นชุมชนเล็กๆมีประชากรอาศัยอยู่ในปัจจุบัน620 คน แยกเป็น ผู้หญิง 315 คน ผู้ชาย 305 คน มีพื้นที่ 2,890 ไร่ ด้านทิศตะวันออกจดอุทยานแห่งชาติศรีพังงา ทิศตะวันตกจดป่าชายเลนและคลองบางวันที่ไหลออกไปสู่ทะเลอันดามัน ทิศเหนือจดพื้นที่หมู่บ้านโค้งศรราม ทิศใต้จดกับอำเภอตะกั่วป่า มีถนนเพชรเกษมตามแนวเหนือใต้ ประชาชนเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์เป็นเกษตกร โดยมีอาชีพปลูกยางพาราอย่างเดียวประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ ปลูกปาล์มน้ำมันอย่างเดียว 10 เปอร์เซ็นต์ ที่มีงานเกินสองอย่างคือ ปลูกยาง , ปลูกปาล์มน้ำมัน , ปลูกผัก , ทำเรือประมง หรืออาชีพอื่น ๆ ด้วยประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ ทำให้เมื่อผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำหรือราคาถูก ก็จะทำให้ครัวเรือนประสบปัญหาทางเศรษฐกิจมาก ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต คุณภาพการศึกษาของเยาวชนในหมู่บ้าน รวมถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ที่ทำให้บางครอบครัวอ้างภาวะเศรษฐกิจ ไม่สามารถมีเวลาที่จะทำเพื่อส่วนรวมได้รวมถึงข้ออ้างไม่มีเวลาให้กับบุตรหลานมาก เพราะต้องทำงานหาเงิน มีผลทำให้เด็กจำนวนหนึ่งขาดความอบอุ่น ขาดการเอาใจใส่จากครอบครัว หันไปหาเพื่อน ติดเพื่อน ติดเกมส์ จนบางกลุ่มนำไปสู่การติดยาเสพติด
  • สภาพเศรษฐกิจที่ไร้ความหวังนำไปสู่ความหวังลมๆ แล้งๆ กับการพนัน หรือหวยเบอร์ ทำให้บางครอบครัวยิ่งประสบปัญหาหนักขึ้นไปอีก จนบางครอบครัวถึงกับบ้านแตก ครอบครัวแตกแยก
  • แต่ขณะเดียวกันในหมู่บ้านชุมชน ยังมีศาสนา ภูมิปัญญาดั้งเดิม มีประเพณีวัฒนธรรมมีบุคคลอันเป็นต้นแบบด้านต่าง ๆ และผู้นำที่มีความเป็นธรรม เป็นเครื่องร้อยรัดให้ชุมชนได้อยู่กันอย่างผาสุขในระดับหนึ่ง
  • ทางคณะทำงานได้เรียนเชิญคณะกรรมการหมู่บ้านและผู้นำในชุมชน ร่วมปรึกษาปัญหาและแนวทางพัฒนาในหมู่บ้าน ได้ข้อสรุปตรงกันว่า หากเราจะสร้างสังคมของเราให้มีความสุขอย่างยั่งยืนได้ต้องเริ่มต้นจากสถาบันครอบครัว ลงไปถึงบุคลากรในครอบครัว ที่จะต้องมีการพัฒนา มีการปรับทัศนคติ ความเชื่อ ให้เป็นธรรมมาทิฐิโดยสถาบันครอบครัวจะเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยกันประคับประคอง ปลูกฝัง พัฒนา บุคลกรในครัวเรือนเพื่อให้ง่ายต่อการทำงานและติดตามประเมินผล คณะทำงานได้ร่วมกับชุมชนแบ่งหมู่บ้านบางวันออกเป็น 4 โซน มีคณะกรรมการโซน บริหารจัดการภายในโซนของตนเอง โดยมีการระดมสมองกำหนดกิจกรรมต่างๆ เช่น กีฬาสานสัมพันธ์ หรือการรณรงค์ต่อต้านเหล้า บุหรี่ และเก็บข้อมูลเพื่อค้นหาปัญหาและศักยภาพของชุมชน จะค้นหาครอบครัวและบุคคลต้นแบบด้านต่างๆ ในโซน โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้บุคคลต้นแบบด้านต่างๆ ได้เป็นครู ได้เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับชุมชน เมื่อได้บุคคลต้นแบบมาแล้ว ก็มีการพัฒนาต่อยอดบุคคลต้นแบบ โดยการศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำไปศึกษาดูงาน รับฟังการบรรยายจากปราชญ์ชุมชน ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้านชุมชนพึ่งตนเอง ด้านการปลูกพืชแบบผสมผสาน ที่จังหวัดพัทลุง และจังหวัดตรัง โดยระหว่างการเดินทางไปก็มีการระดมสมอง ถอดบทเรียนกิจกรรมที่ผ่านมา กำหนดเป้าหมายวัตถุประสงค์ของการไปศึกษาดูงาน และเมื่อไปศึกษาดูงานทุกคนก็ตั้งใจกันมากที่จะหาความรู้และซักถามข้อสงสัย เมื่อวันเดินทางกลับจากการใช้เวทีบนรถประชุมระดับผู้นำ เช่น ผู้ใหญ่บ้าน เคยไปศึกษาดูงานมาก่อน ถึงภาคอีสานถึงประเทศลาว ก็ยืนยันว่าครั้งนี้เป็นการดูงานที่คุ้มค่าได้ประโยชน์มากที่สุดเท่าที่เคยได้ไปมา เมื่อมีการวิเคราะห์ไว้ทำไมที่บ้านโงกน้ำที่ไปดูงานกัน จากเดิมเป็นชุมชนที่ชาวบ้านยากจน มีโจรขโมย การพนัน และอาชญากรรม กลายเป็นหมู่บ้านพึ่งตนเอง ชุมชนเข้มแข็ง มีสวัสดิการชุนชน ทุกครัวเรือนมีอาชีพ ทุกคนมีเงินออม ครัวเรือนมีความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจ ได้ข้อสรุปว่า
  1. ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองและชุมชน
  2. มีผู้นำตามธรรมชาติ (ครูเกษียณ) ที่มีวิสัยทัศน์ มีอุดมการณ์ มีความมุ่งมั่นตั้งใจ นำไปสู่การให้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
  3. ความโปร่งใสในการทำงาน การมีการเปิดเผยในทุกระดับ และผลประโยชน์ที่ได้รับ การจัดสรรอย่างเป็นธรรม
  4. ระบบประชาธิปไตยที่มีเริ่มต้นลงมือทำเองได้ในชุมชนจะต้องผ่านมติเสียงส่วนใหญ่ สร้างกติกาที่ทุกคนมีส่วนร่วม ทำความเข้าใจกับเสียงส่วนน้อย ประชุมชี้แจงการทำงานเป็นระยะจนถึงขั้นตอนสรุปประเมินผล
  5. ความใกล้ชิดสนิทสนมที่ชุมชนมีให้กัน โดยการไปดูงานด้วยกัน ไปเที่ยว ไปสังสรรค์ด้วยกัน
  • ในการประชุมสรุปโครงการในหมู่บ้าน ทุกภาคส่วนเห็นว่าแม้จะปิดโครงการไปแล้ว สิ่งที่ชุมชนจะต้องดำเนินการต่อเนื่อง คือ
  1. กิจกรรมสานสัมพันธ์พ่อแม่ลูกในครัวเรือน และ ครัวเรือนต่อครัวเรือนในโซนต่าง ๆ ผ่านกิจกรรมกีฬาของหมู่บ้าน
  2. กิจกรรมศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละโซน
  3. กิจกรรมบุคคลต้นแบบที่จะต้องมีการพัฒนาต่อยอด ให้ชุมชนและนักเรียนเข้าไปศึกษาหาความรู้
  4. กิจกรรมบ่มเพาะต้นกล้ามนุษย์ สร้างคนดีที่มีความกตัญญูต่อผู้ที่มีพระคุณ 8 ด้าน โดยทำดีตอบแทนในแต่ละด้าน และการสอนธรรมะในโรงเรียน
  5. กองทุนเงินออมกลุ่มสัจจะของชุมชน
  6. จัดกิจกรรมวันแม่ วันพ่อ ในชุมชน รวมทั้งนิทรรศการของโซนต่าง ๆ ที่ได้ดำเนินการเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
  7. การประชุมทุกเดือนเพื่อสรุปประเมินผลการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน คณะทำงานและชุมชนเห็นว่า งบประมาณของ สสส. มีประโยชน์ต่อชุมชนเป็นอย่างยิ่ง ทำให้ชุมชนได้สร้างโอกาส มีมุมมองและทัศคติใหม่ ๆ ที่จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อความอยู่ดีมีสุขของชุมชน และอนาคตที่สดใสอย่างยั่งยืนของเยาวชน ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
บุคคลต้นแบบ

-ทุกคนในหมู่บ้านช่วยกันค้นหาบุคคลต้นแบบ โดยในกระบวนการได้ออกแบบไว้ในแบบสำรวจบ้าน

-บุคคลต้นแบบ รวมทั้งหมด 36 คน จำแนกได้เป็น 7 ด้าน รวม 3 กลุ่ม -บุคคลต้นแบบ เป็นศูนย์เรียนรู้ของหมู่บ้าน

 

 

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นายกฤษ ศรีฟ้า หมู่2บ้านบางวัน อ.คุระบุรี จ.พังงา

-เป็นผู้มีจิตอาสา เป็นบุคคลที่ริเริ่มการก่อตัวโครงการโดยได้ให้ข้อเสนอแนะที่มีประโยชน์ -ร่วมดำเนินการและมีการติดตามงานอย่างต่อเนื่อง

นายนิคมลำจวน หมู่2 บ้านบางวัน อ.คุระบุรี จ.พังงา

-มีความตั้งใจในการดำเนินโครงการให้สำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ -เป็นผู้มีจิตอาสาและให้ข้อเสนอแนะในด้านต่างๆแก่โครงการ

กลุ่มบุคคลต้นแบบรวม 36 คน หมู่2 บ้านบางวัน อ.คุระบุรี จ.พังงา

-มีความตั้งใจในการปฏิบัติตนในสิ่งที่ดีงามจนได้รับการคัดเลือกจากชุมชนซึ่งถือได้ว่าเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหมู่บ้านแห่งนี้

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

หมู่2 บ้านบางวัน อ.คุระบุรี จ.พังงา

ครอบครัวมีความสุข จากการมีแบบอย่างที่ดีและเป็นศูนย์เรียนรู้ของหมู่บ้านเด็กและเยาวชนได้รับการขัดเกลาในด้านอุปนิสัยด้วยการเรียนธรรมะ

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

-มีผู้รับผิดชอบชัดเจนและมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

มีความรู้ความสามารถในการบริหารโครงการให้เป็นไปตามแผนที่ได้กำหนดไว้

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

มีผลลัพธ์จากทุกกิจกรรมตามเวลาที่กำหนด

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีการมอบหมายบุคคลให้รับผิดชอบด้านการเงิน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

มีการใช้จ่ายเงินตามกิจกรรมที่ระบุไว้

2.3 หลักฐานการเงิน

เอกสารและหลักฐานครบถ้วน

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

การดำเนินโครงการเป็นไปตามแผนที่กำหนดการใช้จ่ายเงินเป็นไปตามกิจกรรม

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

ดำเนินการตามกิจกรรมที่ระบุไว้ได้ครบถ้วนทุกกิจกรรม
หลักฐานการเงินครบถ้วน เห็นสมควรปิดโครงการได้

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

-กิจกรรมของโครงการมีประโยชน์ต่อชุมชนเนื่องจากครอบครัวที่ดีจะเป็๋นรากฐานให้สังคมเข้มแข็ง ได้ค้นพบบุคคลต้นแบบในด้านต่างๆรวม7ด้านและรวมได้เป็น3กลุ่ม -เป็นโครงการที่ให้ความสำคัญกับเด็กและเยาวชนโดยได้มีการสอนธรรมมะในโรงเรียน -เป็นโครงการที่สามารถต่อยอดได้ในปีถัดไป เนื่องจากในปีนี้ได้นำบุคคลต้นแบบไปศึกษาดูงานในด้านเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งทำให้ประชาชนกลุ่มดังกล่าวมีความตื่นตัวขึ้นมาก และกิจกรรมศึกษาดูงานในครั้งนี้เป็นการเปิดโลกทัศน์ให้กับกลุ่ม

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong