แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 57-02584
สัญญาเลขที่ 58-00-0078

ชื่อโครงการ ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย
รหัสโครงการ 57-02584 สัญญาเลขที่ 58-00-0078
ระยะเวลาตามสัญญา 20 ตุลาคม 2014 - 20 พฤศจิกายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายทวีชัย อ่อนนวน
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 18 ธันวาคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายประเสริฐ ชาตวิทยบุตร 20/3 ม.3 ต.อ่าวลึกน้อย อ.อ่าวลึก จ.กระบี่ 080-8876966
2 นางสาวกิราปาย ชาตวิทยบุตร 20/3 ม.3 ต.อ่าวลึกน้อย อ.อ่าวลึก จ.กระบี่ 081-1473658
3

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

การใชัประโยชน์จากทรัพยากร (วัสดุเหลือใช้ภาคเกษตรในชุมชน) และเพื่อสร้างการขับเคลื่อนโครงการด้วยสภาผู้นำชุมชน

เชิงปริมาณ

  1. นำวัสดุเหลือใช้ภาคเกษตร มาสู่ปัจจัยการผลิตได้ 105 คน
  2. สร้างกลไก ที่มีรูปแบบต่อเนื่อง ในกระบวนการผลิต ของกิจกรรมได้ 85 คน
  3. ตระหนักในคุณค่าและประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้สู่สุขภาวะและสังคมน่าอยู่ 190 คน
  4. ลดการใช้สารเคมี ได้ 40% ในการผลิต

เชิงคุณภาพ

  • เกิดนวัตกรรม เศษอาหาร
  • เห็นประโยชน์จากทรัพยากร วัสดุเหลีอใช้ในชุมชนมากขึ้น
  • คนในชุมชนมีความสุขมากขึ้นจากการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย
  • คนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม-คนในชุมชน เชื่อว่ามีอย่างหนึ่งแล้วสามารถพัฒนาไปเป็นอย่างหนึ่งได้
  • คนในชุมชนตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ปนเปื้อน ในอาหาร ที่ส่งผลต่อสุขภาพ

2.

หนุนเสริมเศรษฐกิจฐานล่าง สร้างสิ่งแวดล้อมดี มีสุขภาวะ ห่างไกลยาเสพติด

เชิงปริมาณ

  1. กระตุ้นการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายโดยใช้ศาสตร์แห่งพระราชา ครู คลัง ช่าง หมอ150 คน
  2. มีความเข้าใจในการใช้ทรัพยากรร่วม และตระหนักในปัญหา มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการแก้ปัญหา 85 คน

เชิงคุณภาพ

  • ทุกอย่างใก้ลตัวมีคุณค่า
  • คนดี ขยัน เนรมิตทุกอย่างได้หากมีความเพียร
  • มีภูมิคุ้มกัน ครัวเรือนและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด
  • คิดเป็นทำเป็น รู้จักเปรียบเทียบเพื่อข้อมูล ที่ดี ถูกต้อง ในการพัฒนากิจกรรม
  • มีความเข้าใจในกันและกัน

3.

เพื่อติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานโครงการ

  • รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
  • รายงานการเงิน
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : เวทีแจ้งวัตถุประสงค์ของโครงการ สร้างความตระหนักร่วม ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชนi

16,650.00 190 ผลผลิต

จำนวนผู้เข้าร่วมเวทีประชุมตรงตามเป้าหมาย มีเอกสารประกอบการประชุม มีวิทยากรที่มีความเข้าใจในการให้ความรู้สอดคล้องกับกระบวนการการดำเนินโครงการ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้ร่วมประชุมมีความเข้าใจในแนวทางการดำเนินโครงการซึ่งเน้นกระบวนการเพื่อยกระดับการทำงานของคนชุมชุน โดยคนในชุมชนเป็นเจ้าของโครงการ และรับทราบเป้าหมายร่วมกันในการผลักดันให้เกิดกลุ่มแกนนำในชุมชนหรือสภาผู้นำในชุมชน สิ่งสำคัญในการประชุมมีเอกสารประกอบในการประชุมที่สามารถในประประยุคใช้ได้จริงในการพัฒกลุ่มองค์กรและหมู่บ้าน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

1.กลู่มแม่บ้านเกษตรกร   2.กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์   3.กลุ่มรับจ้าง   4.ยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย

16,650.00 8,210.00 190 67 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เวทีชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ สร้างความตระหนักร่วม ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการขับเคลื่อนสภาผู้นำชุมชน อธิบายรายละเอียดและแจกเอกสารประกอบการบรรยาย กิจกรรมโครงการ การพัฒนาศักยภาพของกลุ่ม การเริ่มต้นการขยาย การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวโครงการ และมีการบอกถึงการปฏิบัติงาน ทีมนำ ทีมทำ ทีมร่วม และได้แจ้งให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบในส่วนของการจัดการ การวางทีมเพื่อการปฏิบัติ เป็น ทีมนำ ทีมทำ ทีมร่วม และติดตามผลให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบ ว่ามีใครบ้าง  แจ้งที่มาที่ไปของโครงการซึ่งล้วนแต่เกิดจากปัญหาของครัวเรือนในชุมชนทั้งสิ้นและเชื่อมโยงไปถึงแผนพัฒนาหมู่บ้าน ชี้ให้เห็นถึงชุมชนเข้งแข็งจะต้องมีคุณลักษณะอย่างไร จากรายบุคคล สู่ครอบครัว ชุมชน สังคม ทำดีเพื่อตอบแทนแผ่นดิน ครอบครัวท้องถิ่นมั่นคง ดำรงชีวิตแบบพอเพียง ตามหลักสุขภาวะ 4 มิติ สร้างกลุ่มให้เกิดงานในชุมชน "สู่" ธนาคารเพื่อความมั้นคงทางอาหารของชุมชน โดยสภาผู้นำชุมชนเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อน เริ่มจากการผลิตที่มีคุณภาพไม่ใช้สารเคมีทุกประเภท  การแปรรูปเพื่อยกระดับราคา ทำเอง กินเอง ใช้เอง เพื่อให้เห็นถึงค่าใช้จ่ายในครัวเรือนที่รั่วไหลออกจากชุมชน แถมยังไม่มีความปลอดภัยในชีวิต และวางโครงสร้างให้เห็นถึงกระบวนการทำงานของโครงการกับคาดหวังที่อยากเห็น และอยากให้เป็น ต้องอาศัยความร่วมมือจากพี่น้องลูกหลานในชุมชนทุกท่าน ชุมชนท้องถิ่นเป็นฐานของสังคม ชุมชนเข้มแข็งอยู่ที่คน คนในชุมชนพึ่งตนเองได้ คนในชุมชนพึ่งพาช่วยเหลือกัน กลุ่มช่วยเหลือกันในกลุ่ม เครือข่ายช่วยเหลือกันระหว่างกลุ่มองค์กร มีเหตุผล ร่วมคิดร่วมทำ ร่วมเรียนรู้ มีความพอประมาณ ทำให้สังคมเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน มีการจัดทำแผนชีวิตและครอบครัว และมีการตอบรับดีมากจากกลุ่มเป้าหมายและสมาชิกที่ยังไม่ได้เข้าร่วมโครงการ
  2. ชี้แจงจุดมุ่งหมายที่สำคัญของ สสส. เรื่องหน่วยงานและภาคีร่วมของ สสส.  ผู้รับผิดชอบ ตลอดจนพี่เลี้ยงของโครงการ งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน การพัฒนาศักยภาพของคน เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง การจัดการข้อมูล  วิเคราะห์ ปัญหา การแก้ปัญหา การทำแผนพัฒนาเพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนา การบริหารจัดการโครงการ กลไกล คือพี่เลี้ยง การสนับสนุนของพี่เลี้ยง

กลุ่มเกษตรกรปลูกยางพารา ปาล์มน้ำมัน กลุ่มเลี้ยงสัตว์ กลุ่มอาชีพรับจ้าง กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มยุวเกษตรกรในชุมชน

0.00 0.00 63 63 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเกษตรกรปลูกยางพารา ปาล์มน้ำมัน กลุ่มเลี้ยงสัตว์ กลุ่มอาชีพรับจ้าง กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มยุวเกษตรกรในชุมชนได้รับการ อบรมแนะนำให้ความรู้การเลี้ยงสัตว์และการประมง รวมถึงการแปรรูปสัตว์น้ำ ให้กับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่

กิจกรรมหลัก : อบรมให้ความรู้เรื่อง การนำวัสดุเหลือใช้มาใช้ประโยชน์i

20,400.00 105 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบถึงข้อมูลถึงจำนวนขยะจากเศษวัสดุเหลือใช้จรกการเกษตรและขยะในครัวเรือน และรับรู้ถึงแนวทางการนำวัสดุเหลือใช้นำไปใช้ประโยชน์และสร้างรายได้เพิ่ม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบถึงปัญหาเกิดความตระหนักต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นในชุมชน เรื่องวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ปัญหาการใช้สารเคมี รายได้ที่ศูนย์เสียไปแต่ละปีที่ผ่านมา ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของคนในชุมชน สามารถนำความรู้ไปใช้ได้จริง ตั้งแต่ระดับ บุคคล ครัวเรือน กลุ่ม องค์กร ในการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการจัดการขยะ ลดรายจ่ายในครัวเรือนได้ และขยายผลไปสู่ครอบครัวอื่นๆได้ในชุมชน ทำให้สภาพแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

1.กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และ ยางพารา
2.กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
3.กลุ่มอาชีพรับจ้าง และ เยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด

10,200.00 9,536.00 105 53 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายจากการนำวัสดุเหลือใช้จากครัวเรือน และภาคการเกษตรมาทำให้เกิดประโยชน์แก่ครัวเรือน
  • เกิดการผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นและหลักวิชาการก่อเป็นนวัตกรรมชุมชน เกี่ยวกับสูตรอาหารสัตว์
  • ทำให้เกิดแนวคิดในการพึ่งพาตัวเองบนพื้นฐานของความเป็นจริง โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างคุณค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • เกิดบทเรียน นำไปสู่การพัฒนา แบบบูรณาการโดยประชาชน นำราชการ และสนองตามบริบท และความเหมาะสม
  • เยาวชนคนรุ่นใหม่เกิดแรงบันดาลใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรม

1.กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และ ยางพารา
  2.กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3.กลุ่มอาชีพรับจ้าง และ เยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด

10,200.00 5,604.00 55 48 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายจากการนำวัสดุเหลือใช้จากครัวเรือน และภาคการเกษตรมาทำให้เกิดประโยชน์แก่ครัวเรือน
  • เกิดการผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นและหลักวิชาการก่อเป็นนวัตกรรมชุมชน เกี่ยวกับสูตรอาหารสัตว์
  • ทำให้เกิดแนวคิดในการพึ่งพาตัวเองบนพื้นฐานของความเป็นจริง โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างคุณค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • เกิดบทเรียน นำไปสู่การพัฒนา แบบบูรณาการโดยประชาชน นำราชการ และสนองตามบริบท และความเหมาะสม
  • เยาวชนคนรุ่นใหม่เกิดแรงบันดาลใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรม
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นายประเสริฐ ชาตวิทยบุตร ม.3 ต.อ่าวลึกน้อย อ.อ่าวลึก จ.กระบี่

 

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

คณะกรรมการมีหลากหลายครอบคลุมในพื้นที่มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของโครงการ มีบางท่านที่ปรับเปลี่ยนตำแหน่งคณะทำงานในความเหมาะสมในการทำงาน มีสถานที่ทำงานที่ชัดเจน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

สถานที่ทำงานเอื้อต่อการประชุมพูดคุย และการจัดกิจกรรม คณะกรรมการเข้าใจกระบวนการในการดำเนินโครง มีเครื่องมืออำนวยความสะดวก มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ เป็นที่ศึกษาดูงานของชุมชมด้าน เศรษฐกิจพอเพียง การจัดการสิ่งแวดล้อม

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

กิจกรรมโครงการสามารถดำเนินการได้ตามแผน กลุ่มเป้าหมายครอบคลุม การเตรียมความพร้อมก่อนจัดกิจกรรม ด้านเอกสารเนื้อหาค่อนข้างทำได้ดีเป็นโครงการเชิงนวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาบวกกับความรู้วิชาการในการในการนำขยะจากครัวเรือและขยะจากการเกษตรมาใช้ประโยชน์

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

การประสานงานระหว่างผู้สนับสนุนกับผู้รับทุนบางครั้งการเข้าร่วมประชุม กับผู้สนับสนุนการทำความเข้าใจในการดำเนินงานบางครั้ง อาจจะไม่ตรงกับผู้รับผิดชอบในโครงการ ทำให้การให้ข้อมูลบางครั้งอาจคลาดเคลื่อนในการรายงาน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 1 0
ผลรวมทั้งหมด 1 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

กิจกรรมโครงการนี้เป็นกิจกรรมที่รับงบประมาณปีที่2 เป็นโครงการที่ทำให้ครัวเรือนและกลุ่มเป้าหมายได้มีความตระหนักในเรื่องของ การนำขยะในครัวและขยะภาคเกษตร โดยใช้ภูมิปัญญาและหลักวิชาการมาผ่านกระบวนการให้เกิดการย่อยสลายเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการปลูกผักในครัวเรือน ลดการใช้สารเคมี สารตกค้างในผัก  และนำสิ่งที่ย้อยสลายนำมาเพาะเลี้ยงใส้เดือน ทำให้เกิดรายได้จากการเพราะเลี้ยงใส้เดือน ปุ๋ยมูลใส้เดื้อน ฉี่ใส้เดือน พันธ์ใส้เดือน นำมามูลใส้เดือนมาเป็นส่วนผสมเป็นอาหารสัตร์ และสัตว เป็นที่สนใจของในการเรียนรู้กระบวนการนำขยะครัวเรือนและขยะภาคเกษตรมาใช้และสามารถขยายสมาชิกกลุ่มเป้าหมายจากโครงการในปีที่แล้วได้เพิ่มขึ้น ข้อกังวล  ปัญหาระบบสื่อสารในชุมชนยังไม่ครอบคลุมทำให้ระบบการรายงานกิจกรรมโครงการล่าช้า

สร้างรายงานโดย ทวีชัย อ่อนนวน