แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 57-02584
สัญญาเลขที่ 58-00-0078

ชื่อโครงการ ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย
รหัสโครงการ 57-02584 สัญญาเลขที่ 58-00-0078
ระยะเวลาตามสัญญา 20 ตุลาคม 2014 - 20 พฤศจิกายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายทวีชัย อ่อนนวน
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

การใชัประโยชน์จากทรัพยากร (วัสดุเหลือใช้ภาคเกษตรในชุมชน) และเพื่อสร้างการขับเคลื่อนโครงการด้วยสภาผู้นำชุมชน

เชิงปริมาณ

  1. นำวัสดุเหลือใช้ภาคเกษตร มาสู่ปัจจัยการผลิตได้ 105 คน
  2. สร้างกลไก ที่มีรูปแบบต่อเนื่อง ในกระบวนการผลิต ของกิจกรรมได้ 85 คน
  3. ตระหนักในคุณค่าและประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้สู่สุขภาวะและสังคมน่าอยู่ 190 คน
  4. ลดการใช้สารเคมี ได้ 40% ในการผลิต

เชิงคุณภาพ

  • เกิดนวัตกรรม เศษอาหาร
  • เห็นประโยชน์จากทรัพยากร วัสดุเหลีอใช้ในชุมชนมากขึ้น
  • คนในชุมชนมีความสุขมากขึ้นจากการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย
  • คนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม-คนในชุมชน เชื่อว่ามีอย่างหนึ่งแล้วสามารถพัฒนาไปเป็นอย่างหนึ่งได้
  • คนในชุมชนตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ปนเปื้อน ในอาหาร ที่ส่งผลต่อสุขภาพ

2.

หนุนเสริมเศรษฐกิจฐานล่าง สร้างสิ่งแวดล้อมดี มีสุขภาวะ ห่างไกลยาเสพติด

เชิงปริมาณ

  1. กระตุ้นการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายโดยใช้ศาสตร์แห่งพระราชา ครู คลัง ช่าง หมอ150 คน
  2. มีความเข้าใจในการใช้ทรัพยากรร่วม และตระหนักในปัญหา มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการแก้ปัญหา 85 คน

เชิงคุณภาพ

  • ทุกอย่างใก้ลตัวมีคุณค่า
  • คนดี ขยัน เนรมิตทุกอย่างได้หากมีความเพียร
  • มีภูมิคุ้มกัน ครัวเรือนและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด
  • คิดเป็นทำเป็น รู้จักเปรียบเทียบเพื่อข้อมูล ที่ดี ถูกต้อง ในการพัฒนากิจกรรม
  • มีความเข้าใจในกันและกัน

3.

เพื่อติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานโครงการ

  • รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
  • รายงานการเงิน
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : อบรมให้ความรู้ เรื่องการเลี้ยงสัตว์ แพะ,ไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลากินพืช,กินเนื้อ การแปรรูปสัตว์น้ำi

38,650.00 190 ผลผลิต

มีผู้เข้าร่วมอบมรม 190 คน ได้แก่
1.กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา 2.กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง 3.กลุ่มอาชีพรับจ้าง 4.กลุ่มผู้สูงอายุ 5.กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ผู้เข้าร่วมได้เทคนิควิธีการเลี้ยงสัตว์ สามารถนำกลับไปเลี้ยงด้วยตัวเอง ลดต้นทุนการเลี้ยงและสามารถนำไปจำหน่ายสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
  • เกิดเครือข่ายการเลี้ยงสัตว์

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง
  4. กลุ่มผู้สูงอายุ
  5. กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง
12,883.00 7,872.00 63 63 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 63 คน มีความสนใจตั้งใจเรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนคำถามที่มีข้อสงสัย และผู้เข้าร่วมจะนำไปปฏิัติใช้ในครัวเรือนต่อไป

  • เกิดแรงกระตุ้นในการสร้างอาชีพ คิดเทคโนโลยีใหม่จากภูมิปัญญา ในการพัฒนาสายพันธ์ไก่ แพะ โค ประยุกต์การเลี้ยงให้ทันกับความต้องการใช้จ่ายซึ่งมีผลทางด้านเศรษฐการ เช่น โค ผู้เข้าอบรมจะคิดถึงการเลี้ยงโคขุน เพราะเป็นการเลี้ยงระยะสั้น ใช้เวลาเพียง 3 เดือนก็สามารถมีเงินหมุนและเพิ่มทุนได้การเลี้ยงแพะ ผู้เข้าอบรมบาง มีแนวคิดที่จะยกระดับเป็นพันธ์ุแพะพื้นเมือง เพราะสามารถเลี้ยงง่ายกว่า มีรสชาติดีกว่า ซึ้งไม่ต่างจากไก่พื้นเมือง

1.กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
2.กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
3.กลุ่มอาชีพรับจ้าง
4.กลุ่มผู้สูงอายุ
5.กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง

12,883.00 7,172.00 65 59 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 59 คน มีความรู้ ความเข้าใจ การเลี้ยงสัตว์ แพะ ไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลากินพืช กินเนื้อ การแปรรูปสัตว์น้ำ
  • เกิดแรงกระตุ้นในการสร้างอาชีพ คิดเทคโนโลยีใหม่จากภูมิปัญญา ในการพัฒนาสายพันธ์ไก่ แพะ โค ประยุกต์การเลี้ยงให้ทันกับความต้องการใช้จ่ายซึ่งมีผลทางด้านเศรษฐการ เช่น โค ผู้เข้าอบรมจะคิดถึงการเลี้ยงโคขุน เพราะเป็นการเลี้ยงระยะสั้น ใช้เวลาเพียง 3 เดือน ก็สามารถมีเงินหมุนและเพิ่มทุนได้
    การเลี้ยงแพะ ผู้เข้าอบรมบาง มีแนวคิดที่จะยกระดับเป็นพันธ์แพะพื้นเมือง เพราะสามารถเลี้ยงง่ายกว่า มีรสชาติดีกว่า ซึ้งไม่ต่างจากไก่พื้นเมือง

1.กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
2.กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
3.กลุ่มอาชีพรับจ้าง
4.กลุ่มผู้สูงอายุ
5.กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง

12,884.00 30,162.00 64 64 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วม 64 คน มีความสนใจในกิจกรรม มีการเรียรู็อย่างตั้งใจทุกกระบวนการ และจะนำไปปฏิบัติในครัวเรือนต่อไป
  • ผู้เข้าร่วมอบรมสนใจการเลี้ยงและแปรรูปปลาดุก เป็นพิเศษเพราะเป็นปลาที่ทนต่อสภาพน้ำได้ดี กินอาหารได้หลากหลาย และมีบ่อดินเป็นของตัวเอง ชาวบ้านเลี้ยงสามารถและเป็นรายได้ในครอบครัวอย่างพอเพียง
  • ได้เรียนรู้การทำอาหารสัตว์ ซึ่งเป็นต้นทุนที่สำคัญในการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งชุมชนสามารถทำอาหารโดยประยุกต์ใช้วัสดุที่เหลือใช้ในชุมชนด้วย ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า และลดต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ ซึ่งจะทำให้ครัวเรือนมีกำไรเพิ่มมากขึ้น นำไปสู่ความอยู่ดีมีสุขโดยมีหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางจัดกิจกรรมที่สำคัญในครั้งนี้

กิจกรรมหลัก : อบรมสาธิตวิธีเชิงปฏิบัติi

33,900.00 105 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วม 105 คน
1.กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา 2.กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง 3.กลุ่มอาชีพรับจ้าง และเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดการนำวัสดุเหลือใช้ มาใช้ประโยชน์ในพื้นที่

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และ ยางพารา
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง และ เยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด
9,662.00 28,305.00 53 53 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์  ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาหารไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าของอาหาร และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้งและนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ

  • ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุกวัตถุดิบที่ใช้ 1.ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด 2.ปลาป่น 3.รำละเอียด 4.กากเม็ดในปาล์ม 5.แป้งข้าวเจ้า  ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง

  • เรียนรู้การปฏิบัติโดยอาศัยวิชาการที่ถูกต้อง โดยใช้วัสดุเหลือใช้ในครัวเรือนให้เกิดประโยชน์ สร้างจิตสำนึกร่วมโดยเลงเห็นคุณค่าของชีวิตที่ปลอดภัย
  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง และเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด
9,662.00 6,655.00 53 53 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-เรียนรู้การปฏิบัติการทำปุ๋ยและอาหารสัตว์โดยอาศัยหลักวิชาการที่ถูกต้อง ใช้วัสดุเหลือใช้ในครัวเรือนให้เกิดประโยชน์ สร้างจิตสำนึกร่วมโดยเล็งเห็นคุณค่าของการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

1.กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา 2.กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
3.กลุ่มอาชีพรับจ้าง และเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด

9,662.00 3,435.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นำวัสดุเหลือใช้ มาใช้ประโยชน์ โดยวิดีทัศน์จากการปฏิบัติงานของโครงการเมื่องปีที่แล้ว ในเรื่องของการเลี้ยงใส้เดือนดิน ในรูปกระบวนการของการได้มาซึ่งปุ๋ย และ เปรียบเทียบให้เห็นโดย นำวัสดุเหลือใช้ภาคประมง เช่น เปลือกหอย สามารถนำมาผสมกับทางปาล์ม และเศษอาหารมาทำเป็นอาหารสัตว์ได้ สอนให้ได้รู้ถึงขั้นตอน วิธีการ การเลือกวัสดุ มาผสมกันโดยคำนึงถึง คุณค่ะของอาหารที่มีประโยชน์ ในวัสดุแต่ละชนิดเป็นที่ตั้ง

1.กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา 2.กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
3.กลุ่มอาชีพรับจ้าง และเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด

14,576.00 6,285.00 53 53 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นำวัสดุเหลือใช้ มาใช้ประโยชน์ โดยวิดีทัศน์จากการปฏิบัติงานของโครงการเมื่อปีที่แล้ว ในเรื่องของการเลี้ยงใส้เดือนดิน ในรูปกระบวนการของการได้มาซึ่งปุ๋ย และ เปรียบเทียบให้เห็นโดย นำวัสดุเหลือใช้ภาคประมง เช่น เปลือกหอย สามารสนำมาผสมกับทางปาล์ม และเศษอาหารมาทำเป็นอาหารสัตว์ได้ สอนให้ได้รู้ถึงขั้นตอน วิธีการ การเลือกวัสดุ มาผสมกันโดยคำนึงถึง คุณค่ะของอาหารที่มีประโยชน์ ในวัสดุแต่ละชนิดเป็นที่ตั้ง

กิจกรรมหลัก : รวมกลุ่มกันจัดตั้งสภาผู้นำชุมชนและผลิตอาหารสัตว์นำไปใช้ประโยชน์i

48,800.00 105 ผลผลิต

กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง กลุ่มอาชีพรับจ้าง และเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด จำนวน 105 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดรัฐธรรมนูญชุมชนโนใช้หลักนิติศาสตร์อิสลามเป็นแม่แบบตามอัตลักณ์ชุมชน
  • สามารถลดต้นทุนอาหารสัตว์ ทำให้การเลี้ยงสัตว์มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง และเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด
12,200.00 24,505.00 53 53 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผูู้นำตามธรรมชาติ  คือ ปราชญ์ชาวบ้าน กลุ่มเยาวชน    ผูู้นำกลุ่มอาชีพ  กลุ่มแม่บ้าน  ผู้นำมัสยิด  โดยการคัดเลือกผู้นำแต่ละส่วนในชุมชนเข้ามาร่วมเป็น คณะกรรมการสภาผู้นำชุมชน ประกอบด้วย ประธาน รองประธานคนที่ 1 รองประธานคนที่ 2 เลขา  รองเลขา  เหรัญญิก  ประชาสัมพันธ์    มีคณะกรรมทั้งหมด 16 คน ประธาน1คน รองประธาน2 คน  เลขาและรองเลขารวม2 คน  เหรัญญิก 1คน ประชาสัมพันธ์ 1 คน และ 9 คน ที่เหลือคือกรรมการ และที่ปรึกษา 2 คน โดยใช้วิธีการเสนอชื่อโหวด และรับรองผู้ที่ถูกเสนอชื่อ ให้นั้งในตำแหน่งต่าง ๆ มีนาย ประเสริฐ ชาตวิทยบุตร ได้รับเลือกเป็นประธาน
  • มีสภาผู้นำชุมชน ประธานชี้แจงหน้าที่ตามตำแหน่งแต่ละตำแหน่ง วางกฏ ระเบียบ กติกา หรือที่เรียกว่ารัฐธรรมนูญชุมชนโนใช้หลักนิติศาสตร์อิสลามเป็นแม่แบบตามอัตลักณ์ชุมชน เพื่อการขับเคลื่อนชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ มีความเป็นธรรม ในการใช้ธรรมชาติร่วม การแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจาก สินทรัพทางธรรมชาติของชุมชน โดยเน้นคน คุณภาพชีวิตคนเป็นสำคัญ
  • กิจกรรมปฏิบัติการผลิตอาหารสัตว์ คือ ทำอาหารแพะและโคขุน โดยใช้วัตถุดิบ
  1. ทางใบปาล์มน้ำมันบด
  2. กากเม็ดในปาล์มน้ำมัน
  3. เปลือกหอยบดละเอียด
  4. รำละเอียด
  5. ปลาป่น
  6. น้ำมันพืช
  7. กากน้ำตาล
  8. จุลินทรีย์หมักจากน้ำใส่เดือน
  9. น้ำมะพร้าว
  • ผสมเข้ากัน หมักด้วยระบบสุญญากาศ 15 วัน สามารถให้สัตว์กินได้ คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์  ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาห่รไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าขออาหารน และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้งและนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ - ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุก

วัตถุดิบที่ใช้

  1. ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด
  2. ปลาป่น
  3. รำละเอียด
  4. กากเม็ดในปาล์ม
  5. แป้งข้าวเจ้า
  • ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง
  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง และเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด
12,200.00 4,040.00 55 53 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กิจกรรมปฏิบัติการผลิตอาหารสัตว์ คือ ทำอาหารแพะและโคขุน โดยใช้วัตถุดิบ 1.ทางใบปาล์มน้ำมันบด 2.กากเม็ดในปาล์มน้ำมัน 3.เปลือกหอยบดละเอียด 4.รำละเอียด 5.ปลาป่น 6.น้ำมันพืช 7.กากน้ำตาล 8.จุลินทรีย์หมักจากน้ำใส่เดือน 9.น้ำมะพร้าว ผสมเข้ากัน หมักด้วยระบบสุญญากาศ 15 วัน สามารถให้สัตว์กินได้ คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์  ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาห่รไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าขออาหารน และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้งและนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ - ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุกวัตถุดิบที่ใช้ 1.ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด 2.ปลาป่น 3.รำละเอียด 4.กากเม็ดในปาล์ม 5.แป้งข้าวเจ้า  ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง

  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง และเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด
12,200.00 3,890.00 53 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กิจกรรมปฏิบัติการผลิตอาหารสัตว์ คือ ทำอาหารแพะและโคขุน โดยใช้วัตถุดิบ
  1. ทางใบปาล์มน้ำมันบด
  2. กากเม็ดในปาล์มน้ำมัน
  3. เปลือกหอยบดละเอียด
  4. รำละเอียด
  5. ปลาป่น
  6. น้ำมันพืช
  7. กากน้ำตาล
  8. จุลินทรีย์หมักจากน้ำใส่เดือน
  9. น้ำมะพร้าว
  • ผสมเข้ากัน หมักด้วยระบบสุญญากาศ 15 วัน สามารถให้สัตว์กินได้ คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์  ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาหารไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าของอาหาร และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้ง และนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ
  • ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุก วัตถุดิบที่ใช้
  1. ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด
  2. ปลาป่น
  3. รำละเอียด
  4. กากเม็ดในปาล์ม
  5. แป้งข้าวเจ้า
  • ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง
  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง และเยาวชนกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด
12,200.00 5,500.00 50 53 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กิจกรรมปฏิบัติการผลิตอาหารสัตว์ คือ ทำอาหารแพะและโคขุน โดยใช้วัตถุดิบ
  1. ทางใบปาล์มน้ำมันบด
  2. กากเม็ดในปาล์มน้ำมัน
  3. เปลือกหอยบดละเอียด
  4. รำละเอียด
  5. ปลาป่น
  6. น้ำมันพืช
  7. กากน้ำตาล
  8. จุลินทรีย์หมักจากน้ำใส่เดือน
  9. น้ำมะพร้าว
  • ผสมเข้ากัน หมักด้วยระบบสุญญากาศ 15 วัน สามารถให้สัตว์กินได้ คุณค่าทางอาหารสอดคลองกับวัตถุดิบแต่ละชนิดที่ใช้และเหมาะแก่การเจริญเติบโตของสัตว์
  • ใช้วิทยากรจากศูนย์วิจัยพันธ์สัตว์ ปศุสัตว์อำเภอ และศูนย์ทดสอบคุณภาพอาหารสัตว์ร่วมเป็นวิทยากร และนำตัวอย่างอาห่รไปตรวจสอบเพื่อหาค่า คุณค่าขออาหารน และความปลอดภัยต่อสัตว์และผู้บริโภคเนื้อสัตว์ เพื่อความชัดเจนอีกครั้งและนำอาหารที่ฝึกปฏิบัติ
  • ฝึกในเชิงปฏิการแจกให้เกษตรกรได้ลองใช้และรายงานผลทั้งกระบวนการ ความชอบของสัตว์ ปริมาณการกิน ผลข้างเคียง อาหารปลา เน้นอาหารปลากินพืชและปลาดุก วัตถุดิบที่ใช้
  1. ทางปาล์มน้ำมันบดละเอียด
  2. ปลาป่น
  3. รำละเอียด
  4. กากเม็ดในปาล์ม
  5. แป้งข้าวเจ้า
  • ผสมเข้ากันและนำมาอัดเม็ดผึ่งแดดแจกจ่ายให้กับกลุ่มเป้าหมายนำไปทดลองใช้ ใช้วิทยากรจาก ศูนย์ประมงชายฝั่งจังหวัดกระบี่ ประมงอำเภออ่าวลึก หน่วยตอบสอบวัตถุดิบกรรมประมง
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีโครงสร้างการทำงาน มีสภาผู้นำขับเคลื่อนโครงการ แบ่งหน้าที่กัน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

สามารดำเนินกิจกรรมได้ตามแผน

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ได้ผลตามแผน เกิดการเรียนรู้การผลิตอาหารสัตว์ที่ลดต้นทุน สามารถนำของเสียมาใช้ประโยชน์ใหม่

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีเจ้าหน้าที่การเงินช่วยในการจัดการเอกสาร

2.2 การใช้จ่ายเงิน

มีการใช้จ่ายตามแผนที่ได้วางไว้

2.3 หลักฐานการเงิน

ถูกต้อง เชื่อถือได้ สามารถเรียกตรวจสอบได้

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

เห็นควรเบิกเงินงวดต่อไปได้

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ชุมชนได้เรียนรู้เรื่องการเลี้ยงสัตว์ แพะ ไก่พื้นเมือง การเลี้ยงปลากินพืช กินเนื้อ การแปรรูปสัตว์น้ำ สามารถนำวิธีการเลี้ยงได้ผลผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดต้นทุนการเลี้ยงเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong