แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 57-02584
สัญญาเลขที่ 58-00-0078

ชื่อโครงการ ชีวินทรีย์เพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย
รหัสโครงการ 57-02584 สัญญาเลขที่ 58-00-0078
ระยะเวลาตามสัญญา 20 ตุลาคม 2014 - 20 พฤศจิกายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายทวีชัย อ่อนนวน
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายประเสริฐ ชาตวิทยบุตร 20/3หมู่ที่3บ้านอ่าวลึกน้อย อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ 080-8876966

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

การใชัประโยชน์จากทรัพยากร (วัสดุเหลือใช้ภาคเกษตรในชุมชน) และเพื่อสร้างการขับเคลื่อนโครงการด้วยสภาผู้นำชุมชน

เชิงปริมาณ

  1. นำวัสดุเหลือใช้ภาคเกษตร มาสู่ปัจจัยการผลิตได้ 105 คน
  2. สร้างกลไก ที่มีรูปแบบต่อเนื่อง ในกระบวนการผลิต ของกิจกรรมได้ 85 คน
  3. ตระหนักในคุณค่าและประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้สู่สุขภาวะและสังคมน่าอยู่ 190 คน
  4. ลดการใช้สารเคมี ได้ 40% ในการผลิต

เชิงคุณภาพ

  • เกิดนวัตกรรม เศษอาหาร
  • เห็นประโยชน์จากทรัพยากร วัสดุเหลีอใช้ในชุมชนมากขึ้น
  • คนในชุมชนมีความสุขมากขึ้นจากการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย
  • คนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม-คนในชุมชน เชื่อว่ามีอย่างหนึ่งแล้วสามารถพัฒนาไปเป็นอย่างหนึ่งได้
  • คนในชุมชนตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ปนเปื้อน ในอาหาร ที่ส่งผลต่อสุขภาพ

2.

หนุนเสริมเศรษฐกิจฐานล่าง สร้างสิ่งแวดล้อมดี มีสุขภาวะ ห่างไกลยาเสพติด

เชิงปริมาณ

  1. กระตุ้นการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายโดยใช้ศาสตร์แห่งพระราชา ครู คลัง ช่าง หมอ150 คน
  2. มีความเข้าใจในการใช้ทรัพยากรร่วม และตระหนักในปัญหา มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการแก้ปัญหา 85 คน

เชิงคุณภาพ

  • ทุกอย่างใก้ลตัวมีคุณค่า
  • คนดี ขยัน เนรมิตทุกอย่างได้หากมีความเพียร
  • มีภูมิคุ้มกัน ครัวเรือนและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด
  • คิดเป็นทำเป็น รู้จักเปรียบเทียบเพื่อข้อมูล ที่ดี ถูกต้อง ในการพัฒนากิจกรรม
  • มีความเข้าใจในกันและกัน

3.

เพื่อติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานโครงการ

  • รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
  • รายงานการเงิน
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมปฏิบัติการหลังฝึกจากอบรมi

4,500.00 900 ผลผลิต

กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง กลุ่มอาชีพรับจ้าง กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 190 คน ได้รับการติดตามผลหลังฝึกอบรม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดการแบ่งปันผลผลิตทำให้เกิดความสัมพันธ์ในชุนชุมชน
  • เกิดความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุ เยาวชน และคนในชุมชน
  • ครัวเรือนเห็นคุณค่าของการใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า
  • มีการนำวัสดุเหลือใช้มาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง
  4. กลุ่มผู้สูงอายุ
  5. กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง
1,500.00 6,800.00 64 63 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ครั้งที่ 1 ติดตามกลุ่มเป้าหมาย 63 ราย
  • จากการติดตามสามารถ ชุมชนได้นำผลผลิตมานำเสนอ และร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติของตนเอง ว่าเจอปัญหาอะไร มีข้อดีๆ อย่างไร นำมาคุยเล่าสู่กันฟังบางครั้งมีการกลุ่มแลกเปลี่ยนวัสดุเหลือใช้กัน เกิดการแบ่งปันผลผลิตทำให้เกิดความสัมพันธ์ในชุนชุมชน ทั้งนี้มีกลุ่มยุวเกษตรกรและยุวชนกลุ่มเสี่ยงมาร่วมเรียนรู้ ทำให้กลุ่มเยาวชนเกิดพื้นที่กิจกรรมทำสิ่งดีๆ ลดปัจจัยเสี่ยงด้านอื่นๆ
    และผู้สูงอายุได้ถ่ายทอดภูมิปัญญา จากรุ่นสู่รุ่นได้โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ โดยมีความสุขในครัวเรือนตามสุขภาวะ เกิดความสัมพันธ์ระหว่างผู้อายุ เยาวชน ทำให้ผู้รู้สึกภาคภูมิใจในคุณค่าความรู้ สู่ความสุขทางจิตใจ
  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง
  4. กลุ่มผู้สูงอายุ
  5. กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง
1,500.00 2,500.00 65 63 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ครั้งที่ 2 ติดตามกลุ่มเป้าหมาย 63 รายจากการติดตาม ชุมชนเห็นคุณค่าของการใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่าและรับผิดชอบ เกิดกระบวนงานทุกขั้นตอนเกิดขึ้น การทำงานเป็นทีมเป็นกลุ่ม อย่างแท้จริง แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เริ่มจากตัวเอง ราชการ ใช้พื้นที่ถือครองอย่างมีคุณค่า ถอดบทเรียน เพื่อการสืบทอดในครัวเรือน ชุมชนปฏิบัติได้โดยเฉพาะยุวเกษตรกรและยุวชนกลุ่มเสี่ยงตลอดจนผู้ด้อยโอกาศ ภูมิปัญญา ได้รับการถ่ายทอด จากรุ่นสู่รุ่นได้โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ โดยมีความสุขในครัวเรือนตามสุขภาวะ คุณค่าของผู้เข้าร่วมโครงการ เกิดขึ้นโดยตนเอง เกิดขวัญและกำลังใจ
  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้างและเยาวชนกลุ่มเสี่ยง
  4. กลุ่มผู้สูงอายุ
  5. กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย
1,500.00 2,500.00 64 64 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ครั้งที่ 3 ติดตามกลุ่มเป้าหมาย 64 ราย

จากการติดตามทั้งหมด สามารถสรุปภาพรวมได้ว่า

  • ครัวเรือนเห็นคุณค่าของการใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่าและรับผิดชอบ มีการนำวัสดุเหลือใช้มาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า
  • กระบวนงานทุกขั้นตอนเกิดขึ้น โดยตระหนักรู้ เข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้กับโครงการแล้วไปปฏิบัติที่ครัวเรือนต่อไป
  • การทำงานเป็นทีมเป็นกลุ่ม โดยการมี่สวนร่วมของคนในชุมชน เกิดสภาผู้นำในการขับเคลื่อนกิจกรรมชุมชน
  • แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เริ่มจากตัวเอง ราชการ เปิดรับแนวคิดใหม่ นำสิ่งที่ดีของการแลกเปลี่ยนมาปรับใช้ในครัวเรือน เมื่อเจอปัญหาสามารถเป็นข้อพึงระวังในการตระหนักรู้
  • ใช้พื้นที่ถือครองอย่างมีคุณค่า ซึ่งครัวเรือนเมื่อเข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจในโครงการ และนำมาปรับใช้ในครัวเรือน
  • ถอดบทเรียน เพื่อการสืบทอดในครัวเรือน ชุมชนปฏิบัติได้โดยเฉพาะยุวเกษตรกรและยุวชนกลุ่มเสี่ยงตลอดจนผู้ด้อยโอกาศ
  • ภูมิปัญญา ได้รับการถ่ายทอด จากรุ่นสู่รุ่นได้โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ โดยมีความสุขในครัวเรือนตามสุขภาวะ
  • คุณค่าของผู้เข้าร่วมโครงการ เกิดขึ้นโดยตนเอง เกิดขวัญและกำลังใจ

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสรุปผลการดำเนินโครงการi

25,200.00 190 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมเวทีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสรุปผลการดำเนินโครงการ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง กลุ่มอาชีพรับจ้างกลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 190 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คนในชุมชนเกิดความภาคภูมิใจในชุมชน ได้ดำเนินโครงการผ่านไปด้วยดี
  • เกิดการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า
  • ตระหนักรู้ว่าสุขภาพสำคัญที่สุด ด้วยจิตปัญญา สังคม โดยเริ่มจากตน เป็นสำคัญ ชุมชนสำคัญ ทุกชีวิตสำคัญ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และยางพารา จำนวน 35 ครัวเรือน
  2. กลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์,แพะ,ไก่พื้นเมือง,เพาะเลี้ยงประมง จำนวน 30 ครัวเรือน
  3. กลุ่มอาชีพรับจ้าง จำนวน 20 ครัวเรือน
  4. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 35 คน
  5. กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านอ่าวลึกน้อย และเยาวชนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 30 คน
25,200.00 20,200.00 190 150 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มอบเกียรติบัติให้แกกลุ่มเป้าหมาย และรวมรับประทานอาหาร
  • ตอบโจทย์การใช้ชีวิตโดยใช้ภูมิปัญญาสร้างนวัตกรรมเป็นภูมิคุ้มกันให้ห่างไกลยาเสพติด
  • คนในชุมชนมีแนวทางในการดำเนินชีวิตที่ดี มีความตระหนักรู้ว่าสุขภาพสำคัญที่สุด ปัญญา สังคม เริ่มจากตนเองเป็นสำคัญ และครอบครัว สู่ชุมชน
  • ตอบโจทย์การใช้ชีวิตบนความเป็นจริง โดยใช้ภูมิปัญญาสร้างนวัตกรรมและภูมิคุ้มกันห่างไกลยาเสพติด
  • ชีวิตทุกชีวิตมีคุณค่าหาก นำวิชาปรัชญามาพัฒนาชีวิต
  • ทรัพยากรมีคุณค่า หากรู้ว่าเมื่อมีสิ่งหนึ่งและจะนำไปสู่อีกสิ่งหนึ่งเสมอ
  • ตระหนักรู้ว่าสุขภาพสำคัญที่สุด ด้วยจิตปัญญา สังคม โดยเริ่มจากตน เป็นสำคัญ ชุมชนสำคัญ ทุกชีวิตสำคัญ
  • มีสภาผู้นำ/องค์กรชุมชนที่เข้มแข็ง

กิจกรรมหลัก : ประชุมติดตามโครงการร่วมกับ สสส. สจรส. มอ.i

10,000.00 2 ผลผลิต

คณะทำงาน ได้เข้าร่วมเพื่อการจัดการบริหารโครงการจำนวน 2 คน กับ สจรส.มอ.และ สสส. ทำให้สามารถดำเนินโครงการผ่านไปด้วยดี


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดผลงานดำเนินงาน สามารถเขียนรายงานผลกิจกรรม และสามารถจัดทำเอกสารการเงินได้อย่างถูกต้องตามหลักธรรมภิบาล

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

  1. นายประเสริฐ  ชาตวิทยบุตร 2.นางสาวกิราปาย  ชาตวิทยบุตร
1,000.00 4,200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน
บันทึกการประชุม วาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุมพร้อมภาพถ่ายกิจกรรม กรณีมีค่าอาหาร ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงินหรือใบบิลเงินสด
กรณีจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (ค่าวัสดุ คือ ค่าใช้จ่ายเพื่อวัสดุสิ้นเปลืองในการทำกิจกรรม ได้แก่ วัสดุเครื่องเขียน วัสดุสำนักงาน วัสดุโฆษณาและเผยแพร่) ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงิน/บิลเงินสด โดยออกจากร้านมีชื่อที่อยู่ของร้านชัดเจน มีเลขกำกับภาษี/เลขบัตรประชาชน ของเจ้าของร้าน  บิลออกในนามโครงการของพื้นที่ตนเอง ค่าใช้สอย ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าถ่ายเอกสาร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ค่าตอบแทน ได้แก่ ค่าตอบแทนวิทยากร  กรณีเป็นรายชั่วโมง ต้องมีความรู้ความชำนาญ  กรณีเป็นปราญชชาวบ้าน หรือ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. คิดเป็นรายชั่วโมง 600 บาท,กรณีเป็นคนต่างพื้นที่ สามารถเบิกได้ 1000 บาท/วัน ใบสำคัญรับเงินจะต้องไม่มีรอยลบ รอยขูดหรือรอยขีดเขียน  **ห้ามใช้ใบส่งของแทนบิลเงินสดหรือใบสำคัญรับเงิน รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม จะต้องมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย มากกว่า หรือเท่ากับ 5-10 % ของเป้าหมายที่วางไว้ รับรู้การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน  การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ ทุกกิจกรรมจะต้องมีการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมและรายละเอียดทางการเงิน ในเว็ปไซต์ www.happynetwork.org สามารถรับรู้ถึงกระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

ผู้รับผิดชอบและคณะทำงาน

1,500.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดทำรายงานโครงการ รายงานการเงิน ปิดงวด 1

เครือข่าย ชุมชนคนใต้สร้างสุขภาคใต้

4,000.00 6,712.00 7 7 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการชีวินทรีเพื่อสุขภาวะชุมชนคนอ่าวลึกน้อย เข้าร่วมจัดนิทรรศการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากโครงการอื่นๆที่ร่วมโครงการ

ผู้รับผิดชอบและคณะทำงาน

3,500.00 0.00 2 4 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รายงานฉบับสมบูรณ์ เอกสารได้รับการตรวจสอบ มีความถูกต้อง

กิจกรรมหลัก : ค่าภาพถ่ายกิจกรรม / ค่าไวนิล สถานที่นี้ปลอดบุหรี่ / ค่าจัดทำรายงานi

3,000.00 100 ผลผลิต

มีพื้นที่ป้่ายปลอดบุหรี่ในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ป้ายปลอดบุหรี่สามารถสร้างความตระหนักให้คน ลด ละ เลิกบุหรี่ได้ในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

ชาวบ้านในพื้นที่

1,000.00 480.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดทำป้ายติดตั้งป้ายปลอดบุหรี่ ในพื้นที่ชุมชน ในพื้นที่ดังกล่าวได้สร้างความตระหนักไม่สูบบุหรี่ ชุมชนมีการปฏิบัติตามในพื้นที่ปลอดบุหรี่

คณะทำงานโครงาการ

1,000.00 1,000.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รูปภาพสามารถนำไปเผยแพร่ให้กับชุมชน และผู้สนใจเรียนรู้กิจกรรม

คณะทำงานโครงการ

1,000.00 1,000.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รายงานฉบับสมบูรณ์จำนวน 1 เล่ม ส่งให้ สสส.
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีคณะทำงานขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการ

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ทีมงานมีศักยภาพในการทำโครงการ เมื่อจบโครงการแล้วสามารถดำเนินการต่อได้เองอย่างต่อเนื่อง

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

เป็นไปตามแผนที่ได้ระบุไว้ เกิดความยั่งยืนในการเป็นต้นแบบการเลี้ยงสัตว์

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีเจ้าหน้าที่การเงินบริหารจัดการทางการเงิน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

เป็นไปตามแผนค่าใช้จ่าย ถูกหมวดหมู่

2.3 หลักฐานการเงิน

ถูกต้องสามารถตรวจสอบได้

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

ดำเนินการตามแผนผลดำนเนินงานสามารถถ่ายทอดความรู้เป็นพื้นที่ ต้นแบบด้านการใช้ประโยชน์ของเสียมาจัดการเป็นอาหารสัตว์ เพื่อลดต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ได้ เอกสารการเงินใช้จ่ายตาม วัตถุประสงค์ของโครงการสามารถเรียกตรวจสอบได้

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

สภาผู้นำชุมชนขับเคลื่อนโครงการ และได้รับการพัฒนาศักยภาพโครงการ เกิดธนาคารเพื่อความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ชุมชนได้ความรู้เรื่องการนำวัสดุเหลือใช้มาใช้ประโยชน์ เรียนรู้การปฏิบัติการทำปุ๋ยและอาหารสัตว์ ภูมิปัญญาได้รับการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น โดยมีความสุขในครัวเรือนตามสุขภาวะ

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong