directions_run

ส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้บ้านวังประจัน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้บ้านวังประจัน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
ภายใต้โครงการ โครงการการฟื้นฟูคุณภาพชีวิต และพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้
ภายใต้องค์กร Node โควิค ภาคใต้
รหัสโครงการ 64-00214-0009
วันที่อนุมัติ 12 เมษายน 2021
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 12 เมษายน 2021 - 31 มกราคม 2022
งบประมาณ 70,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นางสาวนัฐฌา รูบามา
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนัฐฌา รูบามา
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางซอฝีเย๊าะ สองเมือง
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 12 เม.ย. 2021 31 ส.ค. 2021 12 เม.ย. 2021 31 ส.ค. 2021 40,000.00
2 1 ก.ย. 2021 30 พ.ย. 2021 1 ก.ย. 2021 31 ม.ค. 2022 25,000.00
3 1 ธ.ค. 2021 31 ม.ค. 2022 5,000.00
4 0.00
รวมงบประมาณ 70,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้โรคไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ ส่งผลให้รัฐบาลต้องใช้มาตรการที่เข้มข้นเพื่อควบคุมการระบาด บางมาตรการส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมอย่างรุนแรง ต่อภาคธุรกิจ และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ
วังประจันเป็นตำบลชายแดนที่มีพรมแดนติดกับบ้านวังเกลียน รัฐเปอร์ลิส ประเทศมาเลเซียซึ่งเป็นประเทศที่มีการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 สูง มีด่านตรวจคนเข้าเมืองที่คนเดินทางกลับภูมิลำเนามากเป็นอันดับที่ 4 ของประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสลับกับหุบเขา อากาศชื้นเหมาะแก่การเพาะปลูก จำนวนประชากรทั้งสิ้น 3,089 คน ชาย จำนวย 1,523 คน หญิง จำนวน 1,566 คน จำนวนครัวเรือน 857 ครัวเรือน อาชีพหลักคือ ทำการเกษตร อันดับที่ 1คือทำสวนยางพารา ร้อยละ 58 รองลงมาคือ ค้าขายตลาดนัดชายแดน ร้อยละ 22 ที่เหลือร้อยละ 20 ประกอบอาชีพอื่นๆ เช่น ทำนา ทำสวนผลไม้ รับราชการ แต่ก็มีหลายครัวเรือนที่ทำทั้งสองอาชีพ โดยในตอนเช้าออกไปกรีดยาง เสร็จจากกรีดยางก็ออกไปค้าขายที่ตลาดนัดชายแดน เดิมตลาดนัดชายแดนไทย- มาเลเซีย มีนักท่องเที่ยวจากที่ต่างๆเข้ามาท่องเที่ยวและ จับจ่ายใช้สอยเป็นจำนวนมาก ตลอดจนพ่อค้า แม่ค้าชาวมาเลเซียก็เข้ามาใช้จ่ายซื้อของทุกวันโดยเฉพาะวันเสาร์ อาทิตย์ของทุกสัปดาห์ และช่วงสัปดาห์สุดท้ายของเดือนจะมีนักท่องเที่ยวมากเป็นพิเศษ  ทำให้มีผู้ค้าทั้งรายใหญ่จากต่างพื้นที่เข้ามาลงทุนหลายราย เกิดการจ้างงานในพื้นที่ ทำให้คนวังประจันมีรายได้เพิ่มขึ้น แต่หลังจากเกิดการระบาดของไวรัสโควิด 2019 ในประเทศมาเลซียรุนแรงขึ้น ประเทศมาเลเซียก็ล็อคดาวน์ประเทศ ส่วนประเทศไทยผู้ว่าราชการจังหวัดสตูลมีนโยบายปิดด่านคนในไม่ให้ออก คนนอกไม่ให้เข้าและใช้มาตรการควบคุมการเฝ้าระวังอย่างเข้มงวด ทำให้การค้าขายที่ตลาดนัดชายแดนถูกปิดตัวลงไปด้วย ประกอบกับในช่วงนี้ผลผลิตทางการเกษตรเช่น ราคายางพาราตกต่ำจึงทำให้เกิดผลกระทบกับกลุ่มคนเหล่านี้ เป็นอย่างมาก ในหมู่บ้านมีการลักขโมยผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
คณะทำงานจึงขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากสสส.ในการจัดทำโครงการส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้บ้านวังประจัน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูลขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาให้แก่ครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีในสถานการณ์การดำรงชีวิตวิถีใหม่ ( New Normal )

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก
  • จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทำให้เกิดผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันของประชาชนเป้นอย่างมาก โรคนี้เป็นโรคใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้นประชาชนอาจจะยังไม่เข้าใจในการป้องกัน เฝ้าระวังสุขภาพและทำให้บางคนต้องถูกเลิกจ้าง ประกอบอาชีพไม่ได้ ทำให้รายได้ลดลง อาจส่งให้เกิดภาวะเครียดได้ เพื่อเป็นการช่วยเหลือคนในชุมชนจึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเป้นการให้ความรู้แก่สมาชิกและสามารถลดความเครียอจากที่ได้รับผลกระทบไปได้บ้าง
stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19 2.เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด โควิด 19

1.เกิดกลุ่มอาชีพ 1 กลุ่ม  2.เกิดโครงสร้าง บทบาทหน้าที่ 3.เกิดกติการกลุ่ม 4.เกิดข้อมูลของครัวเรือนที่สมัครเป็นกลุ่มอาชีพ 5.เกิดแผนการดำเนินงาน 1.ร้อยละ80 คนในกลุ่มอาชีพ มีความรู้ ทักษะในการประกอบอาชีพ 2. มีการรวมกลุ่มประกอบอาชีพอย่างน้อย 1 กลุ่ม 1.กลุ่มอาชีพทำขนม ดำเนินการผลิตและขายทุกเดือน ตามเป้าหมายที่กำหนด  2.มีการทำบัญชีกลุ่ม 3.มีการทำบัญชีครัวเรือน  1.ร้อยละ 80 ของสมาชิกกลุ่ม มีรายได้เพิ่มขึ้น

40.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 ประชุมร่วม สสส. กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 65 10,500.00 10 10,500.00
11 - 12 เม.ย. 64 ปฐมนิเทศโครงการ สสส. 2 2,720.00 2,720.00
14 เม.ย. 64 เปิดบัญชีธนาคาร 3 500.00 500.00
16 เม.ย. 64 พบพี่เลี้ยง 3 600.00 600.00
19 เม.ย. 64 จัดทำป้ายโครงการ 40 1,500.00 1,500.00
10 พ.ค. 64 พบพี่เลี้ยง 3 600.00 600.00
13 ส.ค. 64 พบพี่เลี้ยง 3 600.00 600.00
16 ก.ย. 64 พบพี่เลี้ยง 3 600.00 600.00
25 - 26 ธ.ค. 64 เวทีประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสังเคราะห์บทเรียนและเขียนรายงานปิดโครงการ 3 2,280.00 2,280.00
30 ม.ค. 65 จัดทำรูปเล่มรายงานโครงการ 2 500.00 500.00
15 ส.ค. 65 พบพี่เลี้ยง 3 600.00 600.00
2 5. . ประชุมคณะทำงาน ( 5/1 ) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 10 950.00 1 950.00
25 เม.ย. 65 ประชุมคณะทำงาน 10 950.00 950.00
3 2. การอบรมทักษะการเงิน สุขภาพ สังคม ( 2/1) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 160 26,697.00 4 26,697.00
19 พ.ค. 64 การจัดทำบัญชีครัวเรือน 40 7,200.00 7,200.00
28 พ.ค. 64 การอบรมทักษะการเงิน สุขภาพ สังคม ( 2/1) 40 6,000.00 6,000.00
16 มิ.ย. 64 2. การอบรมทักษะการเงิน สุขภาพ สังคม ( 2/2) 40 9,075.00 9,075.00
29 มิ.ย. 64 2. การอบรมทักษะการเงิน สุขภาพ สังคม ( 2/3) 40 4,422.00 4,422.00
4 3. การผลิตอาหารปลอดภัย / การประกอบอาชีพ“อบรมเชิงปฏิบัติการ กินอยู่ อย่างไร คือใส่ใจสุขภาพ” กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 160 11,381.00 5 11,381.00
6 ก.ค. 64 อบรมให้ความรู้การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ( 3/1) 30 2,381.00 2,381.00
7 ก.ค. 64 อบรมให้ความรู้การแปรรูปผลผลิตทางการเกาตร ( 3/3) 30 1,000.00 1,000.00
8 ก.ค. 64 อบรมให้ความรู้แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ( 3/4) 30 1,000.00 1,000.00
9 ก.ค. 64 อบรมให้ความรู้การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ( 3/4 ) 30 1,000.00 1,000.00
10 ส.ค. 64 อบรมให้ความรู้ในการใช้สิ่อ/เทคโนโลยี่ ( 3.2 ) 40 6,000.00 6,000.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 163 19,222.00 6 19,222.00
20 เม.ย. 64 1 เวทีชี้แจงโครงการ 40 6,000.00 6,000.00
9 มิ.ย. 64 5. . ประชุมคณะทำงาน ( 5/2 ) 10 750.00 750.00
13 ก.ย. 64 6. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มผลิตอาหาร (ุ6/1) 35 2,800.00 2,800.00
14 ก.ย. 64 6. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มผลิตอาหาร (ุ6/2) 35 1,750.00 1,750.00
15 ก.ย. 64 เบิกเงินคืน 3 500.00 500.00
25 ก.ย. 64 7. เวทีถอดบทเรียน 40 7,422.00 7,422.00
13 ก.ค. 64 5. . ประชุมคณะทำงาน ( 5/3 ) 10 750.00 750.00
30 2,250.00 3 2,250.00
6 ส.ค. 64 . ประชุมคณะทำงาน ( 5/4 ) 10 750.00 750.00
29 ส.ค. 64 5. . ประชุมคณะทำงาน ( 5/5 ) 10 750.00 750.00
  • ประสานงานกับผู้นำ ตัวแทนชุมชนเพื่อทำความเข้าใจในการจัดทำโครงการแจ้งวัตถุประสงค์ให้ทราบ กรอบแนวคิดในการทำโครงการ
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • คณะทำงานและสมาชิกมีความรู่้ในการป้องกัน ดูแลตนเองและครอบครัวให้ปลอดภัยจาอโรคโควิด 19
  • สมาชิกมีรายได้จากอาชีพเสริม
  • คณะทำงานและสมาชิก มีความมั่นคงทางอาหาร
  • เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากผลกระทบของการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 เม.ย. 2021 14:45 น.