เกษตรปลูกผักและสมุนไพรปลอดสารเคมีไม่มีสารพิษใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 55-01907
สัญญาเลขที่ 55-00-0967

ชื่อโครงการ เกษตรปลูกผักและสมุนไพรปลอดสารเคมีไม่มีสารพิษใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสโครงการ 55-01907 สัญญาเลขที่ 55-00-0967
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสิทธิพรรณ เรือนจันทร์...
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 15 กันยายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 ...นายสมพงศ์ กลอนสม ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 10 ต.ช้างซ็าย 99 หมู่ที่ 10 ตำบลช้างซ้าย อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช... ... 084-1074228...
2 ...นางสาวณัฐฐิกานต์ อ่อนแก้ว ... ...55 หมู่ที่ 10 ตำบลช้างซ้าย อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช ... ..084- 6300673 .

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อพัฒนาให้เป็นหมู่บ้านทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมี ไม่มีสารพิษ ใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง

  1. ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ 100 ครัวเรือน
  2. ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ เข้าอบรม และสร้างกระบวนการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำโครงการ ร้อยละ 80
  3. มีศูนย์เรียนรู้เรื่องการปลูกผักแบบปลอดสารเคมี ไม่มีสารพิษ ใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง  1 แห่ง
  4. มีเกษตรกรตัวอย่างในการทำการเกษตรตามโครงการ 30 ครัวเรือน
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการ 15 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการฯ และเตรียมแผนการดำเนินโครงการฯ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ทบทวนข้อตกลง บทบาทการทำงาน กิจกรรมโครงการที่ล่าช้ามามากๆ เร่งลงตรวจเยี่ยมแปลงผัก

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

คณะกรรมการยังแสดงบทบาทค่อนข้างน้อย ภาระการจัดกิจกรรมโครงการอยู่ที่เลขาเป็นส่วนใหญ่

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการ 15 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการลงตรวจเยี่ยมแปลงผักกลุ่มที่ 1  และสอบถามปัญหาของการทำโครงการฯ จัดหาครัวเรือนต้นแบบในการทำโครงการฯพร้อมประสานงานขอสนับสนุนการพัฒนาจากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อการปฏิบัติที่ดียิ่งขึ้น

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ครัวเรือนยังใช้ปุ๋ยเคมี คณะกรรมการเสนอแนะแนวทางแก้ไข

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผู้รับผิดชอบโครงการยังไม่ได้ดำเนินการเจาะตรวจสารเคมีในเลือด ทำให้ครัวเรือนยังตระหนักเรื่องสารเคมีน้อย

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการ 15 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สรุปผลของโครงการ จัดทำเกณฑ์ประกวดครัวเรือนต้นแบบ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ได้หลักเกณฑ์ครัวเรือนต้นแบบคร่าวๆ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ให้ปรึกษาหลักเกณฑ์ครัวเรือนต้นแบบกับ เกษตรตำบล กรมพัฒนาที่ดิน หรือเจ้าหน้าที่ อบต.ที่รับผิดชอบเรือ่งเกษตร จะทำให้ได้หลักเกณฑ์ที่ชัดเจนขึ้น

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการ 15 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ติดตามเยี่ยมครัวเรือน รวบรวมปัญหาการดำเนินงาน เสนอแนะการปลูกแบบปลอดสารพิษ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ครัวเรือนยังใช้ปุ๋ยเคมี คณะกรรมการเสนอแนะวิธีการปลูกปลอดสารพิษ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการ 15 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ติดตามการทำเกษตรของชาวบ้าน ค้นหาครัวเรือนต้นแบบ ค้นหาที่ตั้งศูนย์การเรียนรู้ และกำหนดรูปแบบของศูนย์การเรียยนรู้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

พบว่า ได้ครัวเรือนต้นแบบ 14 ครัวเรือน และยังพบปัญหาเรื่องยังใช้สารเคมีในบางครัวเรือน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ ควรค้นหา สถานที่ที่ ชาวบ้านเข้าถึงได้ง่าย และมีข้อมูลครบถ้วนที่จะมาเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และต้องมีกิจกรรมที่ถูกกำหนดให้ปฏิบัติทีี่ศูนย์การเรียนรู้สม่ำเสมออย่างน้อยเดือนละ 1-2 ครั้งเพื่อให้มีความเคลื่อนไหว อาจมีเวทีพูดคุยปัญหา หรือกิจกรรมจ่ายค่าตอบแทนที่เกี่ยวข้องกับเกษตรเป็นประจำ ฯลฯ ถ้าสามารถทำหลักสูตรการเรียนรู้แต่ละเรื่องได้ และประชาสัมพันธ์ให้คนมาเรียนรู้จริงๆๆ

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการ 15 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เยี่ยมครัวเรือน และค้นหาครัวเรือนต้นแบบ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เยี่ยม และได้ครัวเรือนต้นแบบ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ควรจัดทำหัวข้อติดตามครัวเรือนให้ชัดเจนให้เห็นเป็นรูปธรรมได้แก่  ครัวเรือนที่ 1 ปลูกผักอะไรบ้าง ปลูกที่ไหน ใช้ปุ๋ยอะไร ใช้สารเคมีหรือไม่ ยังซื้อผักกินเองไหม ฯลฯ สรุป ยังเป็นปัญหากี่ครัวเรือน หรือ ครัวเรือนที่ผ่านเกณฑ์นั้นทำอย่างไร อาจทำให้สามารถนำแนวทางนี้ไปเสนอแนะแก่การติดตามปลงผักกลุ่มอื่นๆต่อไป เพื่อสามารถนำสิ่งที่ติดตามและเป็นปัญหามาแก้ไขได้จริง

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการ 15 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สรุปผลการดำเนินงาน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

พี่เลี้ยงร่วมประชุมพบคณะกรรมการ 15 คน ทบทวนภาระกิจ และงานที่ดำเนินการล่าช้าและยังไม่ได้ดำเนินการเลย 3 เรื่อง คือ 1. การตรวจสารพิษในเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย 2. การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ของหมู่บ้าน 3. การตั้งคณะกรรมการลงติดตามดูครัวเรื่อนในกลุ่มเป้าหมาย 50 ครัวเรื่องการดำเนินกิจกรรมได้แก่ ปลูกผักหรือยัง ยังใช้ปุ๋ยเคมีไหม ทำบัญชีครัวเรือนแล้วค่าใช้จ่ยลดไหมมากน้อยอย่างไร    กรรมการรับปากว่าจะเร่งดำเนินโครงการทั้ง 3 ประเด็นให้เสร็จสิ้นภายในเดือนมิถุนายน นี้ และเตรียมทำเอกสารขยายโครงการส่งไปยังสสส.ด้วย

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

สร้างความเข้าใจ ทบทวนงานที่ล่าช้า และเสนอแนะแนวทางขับเคลื่อนโครงการและกิจกรรมต่างๆให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการ 15 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เยี่ยมแปลงผัก ค้นหาครัวเรือนต้นแบบ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เยี่ยมแปลงผัก ค้นหาครัวเรือนต้นแบบ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ความคิดเห็นเหมือนการตรวจเยี่ยมครังที่แล้ว

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการ 15 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คัดเลือกครัวต้นแบบ วางแผนการจัดกิจกรรมตรวจสารเคมีในเลือด

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะกรรมการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบในการทำการเกษตรแบบปลอดสารเคมีฯ จำนวน 50 ครัวเรือน และค้นหาเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในโครงการ และกำหนดวั และการประสานงานเพื่อตรวจสารเคมีในเลือด

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การค้นหาเพิ่มเติมและยกย่องให้เกียรติบัตรแก่ครัวเรือน เป็นการกระตุ้นให้ครัวเรือนที่ยังไม่เข้าร่วมนั้นมาเข้าร่วมได้

กิจกรรมย่อย: i

ชาวบ้าน 120 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ตรวจสารเคมีในครัวเรือนเป้าหมาย

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผลการตรวจสารเคมีฯ ระดับ 2 คือปลอดภัย จำนวน 26 คน ระดับ 3 มีความเสี่ยง จำนวน 34 คน ระดับ 4 คือไม่ปลอดภัย จำนวน 29 คน และมี 1 คนในจำนวน 90 คน ที่ไม่มีสารเคมีตกค้างในเลือด

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ในแผนโครงการ กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่กำหนดไว้ดำเนินการในวันชี้แจงเปิดโครงการแก่ชาวบ้าน แต่ด้วยคณะกรรมการขาดการพูดคุยวางแผนการทำงานร่วมกันในระยะแรก ส่งผลให้ล่าช้ามากว่า 10 เดือน (1.ขาดวัสดุอุปกรณ์ 2.ผู้ตรวจคือ จนท.สธ.มีภาระกิจ 3.ความไม่เข้าใจกันภายในคณะกรรมการ) ซึ่งถ้าสามารถดำเนินการตั้งแต่เริ่มโครงการ สามารถเป็นเครือ่งมือสร้างความตระหนักให้ชาวบ้านในหมู๋บ้านได้ระดับหนึ่ง อาจแสดงผลลัพธืของโครงการได้มากกว่าที่คาดไว้

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการ 15 คน ตัวแทนผู้เข้าร่วมโครงการ 20 คน เครือข่ายผู้ร่วมโครงการ 5 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ได้บทเรียน และเนื้อหาความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม หรือความพึงพอใจ หรือปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไขปัญหาทั้งการจัดกิจกรรม ปัญหาเรื่องเกษตร

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

พบรายงานเรื่องความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม ภาคีเครือข่ายต่างๆ แต่ไม่พบเนื้อหาจากการถอดบทเรียน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เสนอแนะควรเชิญผู้มีความสามารถ ถอดบทเรียนทั้ง บทเรียนจากกิจกรรมที่ดำเนินการสำเร็จและไม่สำเร็จ สรุปเป็นเล่มเผยแพร่ให้แก่กรรมการ ชาวบ้านและภาคีเครือข่ายรับทราบ

กิจกรรมย่อย: i

ครัวเรือนต้นแบบ 30 ครัวและประชาชน 100 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สรุปผลการติดตามเยี่ยมและคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ มอบเกียรติบัตรแก่ครัวเรือนต้นแบบ และคัดเลือกครัวเรือนจากครัวเรือนต้นแบบ 10 ครัวเรือน
นำเสนอการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ประจำชุมชน 1 แห่ง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

สาธารณสุข อ.พระพรหมประธานในพิธี มอบเกียรติบัตรให้แก่ครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 50 ครัวเรือน หัวหน้าโครงการกล่าวสรุปโครงการ จนท.สธ.ให้ความรู้ด้านสุขภาพ เกษตรอำเภอพระพรหม ให้ความรุ้เรื่องสถานการณ์ยางพารา และวิธีการขึ้นทะเบียนยางพารา ผจก.สกต.นครศรีฯ พร้อมเจ้าหน้าที่ สาธิตวิิธีการทำสบู่ให้แก่ชาวบ้าน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ไม่พบผลของการเสวนาเรื่องเกษตรเศรษฐกิจพอเพียง เป็นเวทีมอบเกียรติบัตรและให้ความรูู้ เสนอแนะ เชิญวิทยากรหรือผู้ที่สามารถนำเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาเพื่อให้เกิดประโยชน์ดังวัตถุประสงค์

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

 

 

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
......หน้าบ้าน น่ามอง

ครัวเรือนปลูกผักสวนครัวหน้าบ้านตนเองในปล้องบ่อ(ได้รับการสนับสนุนจากโครงการ SML)เพื่อไม่ให้น้ำท่วมถึงทุกครัวเรือน ดูแลปลูกโดยใช้หลักการปลอดสารพิษ ให้มีกินตลอดทั้งปี

เกิดกิจกรรมร่วมกันในครัวเรือน มีผักปลอดสารพิษกินตลอดปี สร้างความสวยงามของหมู่บ้าน ลดค่าใช้จ่ายของครัวเรือน เกิดกลุ่มพูดคุยกันเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

 

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

หน้าบ้านทุกครัวเรือนมีปล้องบ่อที่มีผักสวนครัวทุกครัวเรือน น้ำท่วมไม่ถึง มีกินได้ตลอดปี

เป็นข้อตกลงของทุกครัวเรือนต้องปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง และนำแนวทางจากศูนย์การเรียนรู้ไปใช้ในแปลงนา พืชเศรษฐกิจในอาชีพของตนเอง

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

การลงบันทึกรายงาน การสรุปรายจ่ายงบประมาณควรลงบันทึกไม่เป็นปัจจุบัน

ลงบันทึกเป็นปัจจุบัน

การลงบันทึกรายงาน การสรุปรายจ่ายงบประมาณควรลงบันทึกใหเป็นปัจจุบัน และปรึกษาพี่เลี้ยงทุกครั้งที่ไม่เข้าใจ

การดำเนินกิจกรรมทุกิจกรรม ควรตระหนัก วิเคราะห์ถึงผลของการจัดกิจกรรมก่อนหลังให้ชัดเจน เพราะบางกิจกรรมจะส่งผลแก่อีกกิจกรรม ได้แก่ การตรวจสารเคมีต้องดำเนินการก่อนเพื่อเป็นเครื่องมือสร้างความตระหนัก เพิ่มกลุ่มเป้าหมายมาเข้าร่วมกิจกรรม

นำมาดำเนินกิจกรรมก่อนปิดโครงการ และวางแผนจะดำเนินการซ้ำอีก 6 เดือน ถึงแม้ไม่ได้รับงบจาก สสส.

ทบทวน และเสนอแนะเทคนิค เชิงเหตุผลให้คณะกรรมการเข้าใจกลยุทธ์ในการเพิ่มการมีส่วร่วมของชาวบ้าน โดย ถ้าต้องการให้มีความเคลื่อนไหวในหมู่บ้านสม่ำเสมอ กิจกรรมที่จะดำเนินการต้องมีความเกี่ยวข้อง กับวิถีชีวิตของชาวบ้าน และให้เห็นเป็นรูปธรรม

 

 

 

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ในระยะแรก และระยะกลางของการดำเนินงาน พบว่ามีความไม่เข้าใจกันในคณะกรรมการ ส่งผลให้กิจกรรมในโครงการไม่เป็นไปตามแผน และล่าช้า  พบว่าพี่เลี้ยงต้องพยายามหาเวทีพูดคุยกับคณะกรรมการมากขึ้น 4-5 ครั้งต่อโครงการคงไม่พอสำหรับโครงการลักษณะนี้ อาจต้องคลุกวงในมากกว่านี้ (เป็นไปได้ ทุกครั้งที่จัดกิจกรรม)

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 1 0
ผลรวมทั้งหมด 1 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

เมื่อใกล้ปิดโครงการ พบว่า ภาระงานตกอยู่กับคณะกรรมการเพียง 3 คน แต่เมื่อนัดประชุมคณะกรรมการทั้งหมด 15 คนมาพูดคุย ถอดบทเรียนการดำเนินงานที่ผ่านมาเป็นระยะๆ ทำให้เกิดความเข้าใจกัน และมองเห็นความสำเร็จของหมู่บ้าน ทำให้คณะกรรมทุกท่านเข้ามาร่วมมือดำเนินกิจกรรมทุกอย่างอย่างครบถ้วนและสำเร็จได้โดยใช้คำว่าหน้าตาของหมู่บ้านช้างซ้าย และส่งผลให่ภาคีเครือข่ายอื่นๆมาร่วมชื่นชมความสำเร็จของหมู่บ้าน

สร้างรายงานโดย Peeraya Jindamanee