แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 55-01797
สัญญาเลขที่ 55-00-0919

ชื่อโครงการ การพัฒนาศักยภาพชุมชนโดยใช้มัสยิดเป็นศูนย์กลาง
รหัสโครงการ 55-01797 สัญญาเลขที่ 55-00-0919
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายสุวิทย์ หมาดอะดำ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 15 มีนาคม 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 เมษายน 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายยูโซ๊ะ สะมาลอ ตำบล พอเม็ง อ.รามัน จ.ยะลา 0801372235

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรศูนย์เรียนรู้กีรออาตีย์และโรงเรียนตาดีกา

1.มีคณะทำงานที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านเทคนิคและทักษะการสอนเกิดขึ้นมา 1 ชุด 2.มีแผนและหลักสูตรการเรียนการสอนที่เป็นมาตรฐาน และสามารถจัดการเรียนการสอนตามแผนและหลักสูตร

2.

เพื่อเปิดพื้นที่สร้างสรรค์ให้เด็กเยาวชนได้ทำกิจกรรมร่วมกันภายในชุมชน

1.เยาวชนสนใจรักการเรียน อยากมาเรียน ไม่ขาดเรียนบ่อย 2.เยาวชนมีความเป็นระเบียบมากขึ้น 3.เยาวชนมีผลการเรียนกีรออาตีย์ที่ดีขึ้น

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: เวทีชี้แจงโครงการi

100 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

-ชี้แจงคณะทำงาน เพื่อสร้างความเข้าใจ  -ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมที่จะดำเนินการในโครงการ  -เปิดเวทีให้ชุมชนแสดงความคิดเห็นและปรับปรุงโครงการ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

-จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ มีทั้ง 101 คน  โดยคณะทำงาน 15  คน ผู้นำชุมชน 25 คน  ชาวบ้าน 61 คน

-ในการชี้แจงโครงการครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความสนใจพร้อมจะให้ความร่วมมือและสนับสนุนโครงการในการทำกิจกรรมทุกครั้งร่วมกันเป็นอย่างดี

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ชุมชนนี้เป็นชุมชนที่ยังให้ความสำคัญกับบทบาทของศาสนาเป็นอย่างมาก การที่ได้รับการสนับสนุนกิจกรรมด้านพัฒนาสุขภาวะโดยผ่านกิจกรรมด้านศาสนาทำให้คนในชุมชนได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
หลักสูตรชุมชน

เป็นหลักสูตรที่เกิดจากกระบวนการในการ ใช้ การถอดบทเรียน เพิ่มเติมด้วยกับการศึกษาดูความสำเร็จของชุมชนอื่น และ มาสร้างหลักสูตรร่วมกับผู้ชำนาญการ (คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา) เป็นกระบวนการที่อาศัยองค์ความรู้และการดึงความสามารถของหน่วยงานอื่นมาร่วมพัฒนาระบบการศึกษาของชุมชน

ได้หลักสูตรที่เป็นที่เหมาะสมกับชุมชนและใช้ในการพัฒนาเยาวชนโดยให้มัสยิดมีส่วนสำคัญในการบริหารจัดการ

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

มัสยิดบ้านพอเม็ง อ.รามัน จ.ยะลา และโรงเรียนตาดีกาชุมชน

มีการรณรงค์ด้วยการติดป้ายประชาสัมพันธ์และรณรงค์เรื่องความสะอาด และมีการจัดสภาพแวดล้อมเพิ่มเติม

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีโครงสร้างชัดเจน และมีบัณฑิตอาสามาช่วยดำเนินกิจกรรม แต่ เจ้าหน้าที่การเงินมีคนรับผิดชอบดูแลเพียงคนเดียว

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบได้มีการพัฒนาทักษะเพิ่มขึ้น แต่ยังไม่ยังขาดทักษะอื่นๆ เช่น ภาวะการนำ หรือทักษะการสรุปบทเรียน

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

ระบบกลไก การถ่วงดุล คนทำงานยังไม่ดีพอ แต่ไม่พบความผิดปกติ

2.2 การใช้จ่ายเงิน

มีการใช้จ่ายเงินตามกิจกรรม และผลประโยชน์ต่างๆก็ตกกับคนในชุมชน เช่น ค่าอาหาร อาหารว่าง เป็นต้น

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานครบถ้วน

ผลรวม 0 0 6 0
ผลรวมทั้งหมด 6 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

โครงการที่ได้รับการสนับสนุนจาก สสส. โดยมีกระบวนการทีทำให้คนในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรมตั้งแต่เร่ิมต้นกระบวนการ ทำให้กิจกรรมต่างๆที่ออกแบบ เป็นการอาศัยจุดแข็งของวิถีชีวิตชุมชนเป็นเครื่องมือในการดึงการมีส่วนร่วม จึงน่าจะเป็นบทเรียนสำคัญให้โครงการในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ อาศัยกระบวนการ/กิจกรรมที่อาศัยทุนเดิมชุมชน เป็นเครื่องมือในการสร้างการมีส่วนร่วม จะได้ผลในทางปฏิบัติและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของ สสส. ให้กับชุมชน

สร้างรายงานโดย สุวิทย์ หมาดอะดำ