แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 55-01797
สัญญาเลขที่ 55-00-0919

ชื่อโครงการ การพัฒนาศักยภาพชุมชนโดยใช้มัสยิดเป็นศูนย์กลาง
รหัสโครงการ 55-01797 สัญญาเลขที่ 55-00-0919
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายสุวิทย์ หมาดอะดำ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 12 กันยายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายมะยูโซ๊ะ สะมาลอ 36 ม.4 ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา 0801372235
2 นายยูกิพลี อูเซ็ง 122 ม.4 ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรศูนย์เรียนรู้กีรออาตีย์และโรงเรียนตาดีกา

1.มีคณะทำงานที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านเทคนิคและทักษะการสอนเกิดขึ้นมา 1 ชุด 2.มีแผนและหลักสูตรการเรียนการสอนที่เป็นมาตรฐาน และสามารถจัดการเรียนการสอนตามแผนและหลักสูตร

2.

เพื่อเปิดพื้นที่สร้างสรรค์ให้เด็กเยาวชนได้ทำกิจกรรมร่วมกันภายในชุมชน

1.เยาวชนสนใจรักการเรียน อยากมาเรียน ไม่ขาดเรียนบ่อย 2.เยาวชนมีความเป็นระเบียบมากขึ้น 3.เยาวชนมีผลการเรียนกีรออาตีย์ที่ดีขึ้น

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

นักเรียน และครู กรรมการมัสยิด 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เป็นการนำหลักสูตรที่ได้พัฒนาร่วมกับคณะศึกษาศาสตร์ ม.อิสลามยะลา มาใช้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

หลักสูตรที่ได้ มีทั้งการการพัฒนาเทคนิคการสอน การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และ พัฒนาสิ่งแวดล้อม ร่วมกับชุมชน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ชุมชนได้เห็นความเปลี่ยนแปลงร่วมทั้งในด้านคุณภาพของการเรียนการสอน และการพัฒนาด้านความพร้อม และสิ่งแวดล้อมในการจัดการเรียนการสอนของ รร.กีรออาตีย์ และการมีส่วนร่วมกับมัสยิดในการพัฒนาร่วม

กิจกรรมย่อย: i

เยาวชน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เปิดเวทีให้มีการแสดงความสามารถของเยาวชน ในด้านต่างๆ เช่น กีฬา อาชีด การแข่งอ่านอัลกรุอ่าน เป็นต้น

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

มีการจัดการแข่งขัน ตอบปัญหาวิชาการ การแข่งขันด้านวิชาการ การแข่งขันกีฬา และ ระดมทุนพัฒนา รร.ตาดีกาชุมชน ร่วมกับ อบต.

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ชุมชนได้เครือข่ายร่วมกับชุมชนอื่น และทำให้ชุมชนร่วมมีส่วนในการพัฒนาเยาวชน ร่วมกับหน่วยงานราชการในพื้นที่

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
คู่มือการจัดการเรียนการสอนสำหรับครูโรงเรียนตาดีกา

เป็นการประยุกต์เอาสิ่งที่เคยทำ/เคยสอนอยู่เดิมที่ไม่ได้มีการจัดการเป็นระบบ มาจัดทำเป็นหลักสูตรที่อ้างอิงหลักทางวิชาการ ได้เป็นหลักสูตรเฉพาะพื้นที่

นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน โดย สามารถพัฒนาทั้งทักษะของครูผู้สอนและนักเรียน

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

โรงเรียนตาดีกา หมู่ 4 ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา

1.มีการจัดการเรื่องความสะอาด 2.มีการปรับพื้นที่เพื่อจัดสวนหย่อมสำหรับเด็กนักเรียน โดยมีการเขียนชื่อต้นไม้ที่ปลูกเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ 3.ปรับปรุงอาคารเรียนเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ดี มีการทาสีใหม่

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

1.การเปลี่ยนแปลงหลังจากที่โครงการได้เริ่มแล้วมีประเด็นจะต้องแก้ไขหลายด้านทั้งด้านกายภาพ ซึ่งต้องใช้งบประมาณจำนวนมากซึ่งไม่มีในแผนงาน

จัดกิจกรรมระดมทุนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป

ให้รวบรวมปัญหาและความต้องการสู่การผลักดันเข้าสู่แผนงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

ทีมงานขับเคลื่อนกิจกรรมยังไม่ค่อยเต็มที่กับโครงการ ส่วนใหญ่จะเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ยังขาดทักษะบางอย่างเช่น ทักษะการประสานงาน ทักษะการจัดเก็บข้อมูล การรายงานผล

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

ระบบตรวจสอบภายในไม่มี

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงินไม่ค่อยเรียบร้อย ไม่ตรงตามหมวดหมู่ เนื่องจากผู้รับผิดชอบไม่คุ้นเคยต่อการทำกิจกรรม

ผลรวม 0 0 4 0
ผลรวมทั้งหมด 4 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

โครงการได้ทำให้เกิดเวทีพูดคุยในประเด็นที่เป็นปัญหาหานานของชุมชน ที่เป็นเรื่องระบบการศึกษาของชุมชนที่ขาดเจ้าภาพและแนวทางที่ดีในการจัดการ การสนับสนุนโครงการทำให้เป็นการพัฒนาคนทำงานและพัฒนากระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น

สร้างรายงานโดย สุวิทย์ หมาดอะดำ