แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 55-01797
สัญญาเลขที่ 55-00-0919

ชื่อโครงการ การพัฒนาศักยภาพชุมชนโดยใช้มัสยิดเป็นศูนย์กลาง
รหัสโครงการ 55-01797 สัญญาเลขที่ 55-00-0919
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายสุวิทย์ หมาดอะดำ
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 12 กันยายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 22 ตุลาคม 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายมะยูโซ๊ะ สะมาลอ ..36 ม.4 ต.กายูบอเกาะ อ.รามัน จ.ยะลา 0801372235
2 นายมูฮำมัดสุกรี โชะเละ 74 ม.4 ต. กายูบอเกาะ อ. รามัน จ. ยะลา 95140 -

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรศูนย์เรียนรู้กีรออาตีย์และโรงเรียนตาดีกา

1.มีคณะทำงานที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านเทคนิคและทักษะการสอนเกิดขึ้นมา 1 ชุด 2.มีแผนและหลักสูตรการเรียนการสอนที่เป็นมาตรฐาน และสามารถจัดการเรียนการสอนตามแผนและหลักสูตร

2.

เพื่อเปิดพื้นที่สร้างสรรค์ให้เด็กเยาวชนได้ทำกิจกรรมร่วมกันภายในชุมชน

1.เยาวชนสนใจรักการเรียน อยากมาเรียน ไม่ขาดเรียนบ่อย 2.เยาวชนมีความเป็นระเบียบมากขึ้น 3.เยาวชนมีผลการเรียนกีรออาตีย์ที่ดีขึ้น

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

แกนนำชุมชน และผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมโครงการตั้งแต่ต้น ประกอบด้วย ผู้นำศาสนา และครูสอนศาสนาในชุมชน พอเม็ง 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมถอดบทเรียน ได้ช่วยกันนำเสนอถอดบทเรียนผลโครงการ และการสรุปโครงการทั้งด้านการเงิน และกิจกรรม

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้เข้าร่วมได้มาเริ่มหลังเวลาละหมาด มักริบ ประมาณ 1 ทุ่ม ก็ได้มีการพูดคุยเพื่อถอดบทเรียนสิ่งที่สำเร็จและไม่สำเร็จ ของโครงการ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผลที่เกิดขึ้นให้กับชุมชนมีดังต่อไปนี้  1- เกิดความสามัคคีในชุมชน  2 -ชุมชนรักในความสะอาดและช่วยดูแลความสะอาดบริเวณมัสยิดจัดมีที่ทิ้งขยะ 3-  จัดบรีเวณห้ามสูบบุหรี่และที่สูบบุหรี่  4- มีการติดป้ายรียนรู้บริเวณมัสยิดและตาดีกา-5-  ชุมชนได้ประสบการณ์ใหม่จากการดูงานนอกสถานที่ -6-เยาวชนมีการพัฒนาในด้านการอ่านและการเขียน -7 มีการประชุมและพบปะมากขึ้น-8มีการจัดเวทีทดสอบเด็กเยาวชนและชุมชนได้ช่วยกันวางแผนเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาชุมชนในอนาคต

กิจกรรมย่อย: i

หัวหน้าโครงการและคณะทำทำงาน จำนวน 3 คน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ให้ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ทำรายงานกิจกรรมและรายงานการเงินท่ีพร้อมสำหรับการเบิกจ่าย

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน ได้ทำรายงานและบันทึกรายงานลงเวปไซต์

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

โครงการได้ทำกิจกรรมครบตามแผนงานที่วางแต่มีการปรับเรื่องเวลา ตามความเหมาะสม

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

ผู้เข้าร่วม 20คนประกอบด้วยผู้นำศาสนาอิหม่าน ดอเค็บ ครูสอนตาดีกา ผู้สอนกีรออาตีย์ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ให้ได้แนวทางการประเมินหลักสูตรที่ได้ร่วมจัดทำกับคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เพื่อให้เห็นถึงผลที่เกิดขึ้นจริงและจุดอ่อนของหลักสูตร

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์

 

 

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

 

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

บริเวณ มัสยิด และโรงเรียนสอนศาสนา

มีการปรับสภาพแวดล้อมใหม่ให้มีความเหมาะสมและสะอาด และมีการติดป้ายห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณดังกล่าว

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีโครงสร้าง แต่ขาดการมีส่วนร่วมของหน่วยวิชาการของชุมชน เช่น เจ้าหน้าที่จาก รพสต. หรือ อบต.

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ทีมงานยังขาดศักยภาพ ทั้งในเรื่องการใช้เทคโนโลยี และทักษะความเป็นผู้นำ

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีจุดอ่อนบ้าง เนื่องจากขาดการตรวจสอบภายใน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 4 0
ผลรวมทั้งหมด 4 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

ภาพรวมสามารถจัดกิจกรรมได้ครบตามที่กำหนดไว้ในข้อตกลงกับ สสส. และมีการทำรายงานการเงินครบถ้วนแล้ว

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

คณะทำงานโครงการมีความตั้งใจมาก แต่ส่ิงที่ขาดคือทักษะต่างๆที่จำเป็นต่อการจัดการโครงการทั้งระบบ บทเรียนที่ได้น่าจะมีการพัฒนาศักยภาพในช่วงต้นหรือเป็นข้อบังคับให้โครงการนำนักศึกษาหรือผู้ที่มีทักษะเข้ามาร่วมงานตั้งแต่ช่วงต้น โดยประเมินจากเวทีแรกที่ สสส.จัดเพื่อพบปะโครงการ

สร้างรายงานโดย สุวิทย์ หมาดอะดำ