แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 57-01416
สัญญาเลขที่ 57-00-0955

ชื่อโครงการ เสริมพลังชุมชนด้วยคน 3 วัย บ้านโคกแย้ม
รหัสโครงการ 57-01416 สัญญาเลขที่ 57-00-0955
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายสมนึกนุ่นด้วง
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 5 กรกฎาคม 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 12 กรกฎาคม 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 ไพเราะเกตุชู 131 ม.2 ต.นาท่อม 0824378190

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1.  สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนเกิดความตระหลักในผลกระทบของการใช้สารเคมีในการเกษตรเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ละ เลิกการใช้สารเคมีในการเกษตร

1 . สภาผู้นำ 20 คน และประชาชน  140 คน มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ และเป้าหมายและวิธีการดำเนินงานตามโครง

2.  มีข้อมูลชุมชนที่เก็บรวบรวมโดยกลุ่มเยาวชนรักษ์โคกแย้ม

3.  สมาชิกโครงการ 50 คน  สภาผู้นำ 20 คน  และภาคีเครือข่ายรวม 120 คน มีความรู้เรื่องสถานการณ์ การใช้สารเคมี และผลกระทบจากสารเคมีในชุมชน

4.  สภาผู้นำและสมาชิก 70 คน มีความรู้การลดการใช้สารเคมีตั้งแต่การปลูก การเลือก การเตรีม การประกอบอาหารให้ปลอดจากสารเคมี และเรียนรู้การเกษตรอิทรีย์

5.  กลุ่มเยาวชนรักษ์โคกแย้ม  25 คน มีความรู้ในการทำสื่อ สาธารณะ ( บทความ เขียนข่าว เล่าเรื่อง ภาพข่าว บทกลอนท้องถิ่น ละคร )

2.

  1. หนุนเสริมให้เกิดการเรียนรู้ควบคู่การปฏิบัติ และเกิดรูปธรรมในการทำเกษตรอินทรีย์

1 .มีการสื่อสารสู่ชุมชนทุกช่องทางอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทุกครัวเรือนได้รับข่าวสารอย่างทั่วถึง (โดยกลุ่มเด็กเยาวชนรักษ์โคกแย้ม 35 คน ครัวเรือนต้นแบบ 20 และคสภาผู้นำ 20 คน) 2.. มีครัวเรือนปฏิบัติการลด ละ เลิกการใช้สารเคมีและปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษโดยตัวแทนครัวเรือน 1:4ครัวเรือน จำนวน 50 ครัวเรือนซึ่งผ่านการส่งเสริมความรู้แล้ว จะได้รับการสนับสนุนให้ดำเนินการปฏิบัติจริง โดยต้องปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษอย่างน้อย 5 ชนิด และมีอยู่ย่างต่อเนื่องพร้อมรับการติดตามผล และนำผลผลิตมาประกวด/โชว์แก่ชุมชนตามวิถีชุมชนมีครัวเรือนต้นแบบการเกษตรอินทรีย์ 20 ครัว - ต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในพืชผักผลไม้ในบริเวณบ้าน - ต้องปลูกพืชผักและส่งขายในที่ที่โครงการจัดให้(ร้านค้า/โรงเรียน)- ต้องทำบัญชีครัวเรือน และบันทึกข้อมูลตามที่โครงการกำหนด 3. มีแปลงสาธิตนาอินทรีย์ 4ไร่ ที่ไม่ใช้สารเคมีใดๆ ต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์เท่านั้น ต้องเป็นแหล่งเรียนรู้ เก็บข้อมูล ต้องทำบัญชีรับจ่าย ต้นทุน กำไร 4. มีสวนเกษตรอินทรีย์สาธิต 4ไร่ต้องตัดหญ้า ต้องปลูกพืชอาหารเสริมต้องใส่ปุ๋ยอินทรีย์ต้องทำบัญชีรับ/จ่ายครัวเรือน 5. สรุปจากกระบวนการเรียนรู้เป้นหลักสูตรชุมชน โดยคณะทำงาน และนักวิชาการ

3.

  1. พัฒนาการกลไกเพื่อจัดการลดผล กระทบต่อสุขภาพจาการสารเคมี และกระบวนการสร้างมาตรการทางวสังคมเพื่อการลดการใช้สารเคมี ลดสารเคมีตกค้าง ในห่วงซ่อาหาร และในคน

1.มีการประชุมสภาผู้นำ 20คน เป็นประจำทุกเดือน จำนวน 12ครั้ง ติดตามประเมินผล 4 ครั้ง 2. เวทีคืนข้อมูล แถลงมาตรการทางสังคมเพื่อการลดการใช้สารเคมี ลดสารเคมีตกค้าง ในห่วงซ่อาหาร และในคน

4.

4.เพื่อการบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมติดตามผลการรายงาน

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : 10 .สมาชิกกลุ่มเด็กเยาวชนรักษ์โคกแย้ม ประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการ ข่าวจากโครงการ ทุกวันจันทร์ ศุกร์i

6,120.00 35 ผลผลิต

เด็กเยาวชนจำนวน 35คนเรียนรู้ขั้นตอนการประสัมพันธ์ตั้งแต่การเตรียมข้อมูล การประชาสัมพันธ์ ผ่านหอกระจายข่าวหมู่บ้าน การทำสื่อข้อมูล การเขียนบทความการใช้สารเคมีทำป้ายนิทรรศการ การแสดงละครเพื่อสื่อถึงคนในชุมชน เด็กเยาวชนได้เรียนรู้ทักษะด้านต่างๆ มีความกล้าแสดงออกเพิ่มขึ้น


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คนในชุมชนได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร การเคลื่อนไหว ความก้าวหน้า ของโครงการ การปฏฺบัติการทำจริง ผ่านการประชาสัมพันธ์ของเด็กเยาวชน อย่างต่อเนื่อง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

เด็กเยาวชนรักษ์โคกแย้ม

6,120.00 6,120.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชุมชนรับรู้ข่าวสาร ความเคลื่อนไหว ความก้าวหน้า ของโครงการ จากกลุ่มเด็กเยาวชน รวมทั้งกลุ่มเด็กได้เรียนรู้ การใช้สื่อ วิธีการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ทางสื่อวิทยุชุมชน

กิจกรรมหลัก : 11. จัดบูธเผยแพร่ข้อมูลชุมชน ข้อมูลจาการสำรวจ และประกวด ผลผลิตจากครัวเรือน ตามเทศกาลวิถีชุมชน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รับข่าวสารอย่างทั่วถึงทุกครัวเรือนi

12,000.00 40 ผลผลิต

ครอบครัวต้นแบบ 20 แกนนำ 20 คน นำผลผลิตจากครัวเรือน สู่ชุมชน โดยการจัดประกวด จัดจำหน่าย และเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล การลด ละ เลิก การใช้สารเคมี


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประชาชนให้ความสนใจ การปลูกพืชผักสวนครัว แบบอินทรีย์ชีวภาพ การใช้ปุ๋ยหมักแทนการใช้ปุ๋ยเคมี และได้รับข้อมูลจากป้ายนิทรรศการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 6 ครั้ง

ครัวเรือนต้นแบบ 20 คน  และ สภาผู้นำ 20 คน

2,000.00 2,000.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คนในชุมชนรับรู้ข้อมูลข่าวสารของสถารณ์การใช้สารเคมี และผลกระทบจากการใช้สารเคมี เรียนรู้ปรับเปลี่ยนฟฤติกรรมการใช้ ลด ละ เลิก
และได้บริโภคพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ สนใจในการทำเกษตรอินทรีย์ปลูกพืชผักสวนครัวไว้บริโภคเอง

ครัวเรือนต้นแบบ  20 คน  สภาผู้นำ 15 คน

2,000.00 2,000.00 40 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คนในชุมชนรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการใช้สารเคมีในชุมชนอย่างเนื่อง บริโภคพืชผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษ สามาชิกในโครงการและครัวต้นแบบนำพืชผักมาจำหน่ายเป็นรายได้อีกทางหนึ่ง

  ครัวเรือนต้นแบบ 20 คน

2,000.00 2,000.00 40 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คนในชุมชนรับรู้ข่าวสารสถานการณ์การใช้สารเคมีในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  • สามารถหาซื้อพืชผักที่ปลอดสารพิษได้มากขึ้น
  • เกิดเครือข่ายเพิ่มในการปลูกผักทานเอง เพื่อลดการบริโภคผักที่มีสารเคมีตกค้าง

ครัวเรือนต้อนแบบ และสภาผู้นำ

2,000.00 2,000.00 40 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เผยแพร่ข้อมูลเรื่องการใช้สารเคมี ผ่านการจัดนิทรรศการ ทำให้คนในชุมชนได้รับข่าวสารการใช้สารเคมี สถานการการใช้ ผลกระทบการใช้สารเคมี ในชุมชนที่มีการใช้อยู่ทั่วไป ในนิทรรศการได้ให้คำแนะนำต่อการบริโภคพืชผักสาวครัวที่ปลอดภัยจากสารเคมี คือ การปลูกโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปลูกผักกินเอง และยังได้อุดหนุนผักปลอดสารพิษจากคนในชุมชน ทั้งยังเป็นแนวทางหนึ่งในการทานผักที่ปลอดภัย

ครัวเรือนต้นแบบ 20  สภาผู้นำ 20  คน

2,000.00 2,000.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คนในชุมชนรับรู้ข่าวสารการใช้สารเคมีในการเกษตรที่ส่งผลกระทบต่อ คนในชุมชน สุขภาพร่างกาย สิ่งแวดล้อม
  • สารเคมีที่ตกค้างในพืชผัก ทำให้ตระหนักถึงการ ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี

  • คนในชุมชนได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารเคมีที่ครอบครัวต้นแบบนำมาจำหน่าย

  • ครอบครัวต้อนแบบมีรายได้จากการจำหน่ายพืชผัก

ครัวเรือนต้นแบบ และ สภาผู้นำ จำนวน 15 คน

2,000.00 2,000.00 40 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คนในชุมชนได้รับข้อมูลข่าวสาร การใช้สารเคมีในชุมชน ผลกระทบของการใช้สารเคมี อย่างต่อเนื่อง
  • คนในชุมชน และผู้เข้าร่วมทำกิจกรรมได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษ
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจซักถามในการทำเกษตรอินทรีย์ ปลอดสารพิษ ขั้นการปลูก การใช้ปุ๋ย ระยะเวลา การกำจัดหนอน
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจ ป้ายนิทรรศการณ์ภาพถ่าย ซักถามข้อมูลกับแกนนำของโครงการ
  • ครั้งนี้มีสมาชิกนำผลผลิตที่ปลูกขึ้นมาร่วมด้วย

กิจกรรมหลัก : 1. จัดประชุมชี้แจง ข้อมูลพื้นฐาน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนงาน กิจกรรม และภารกิจอื่นๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนปิดโครงการ โดยพี่เลี้ยงและทีมผู้รับผิดชอบโครงการ ใช้เวลาครึ่งวันi

6,400.00 160 ผลผลิต

มีการประชุมชี้แจงโครงการแก่สมาชิกโครงการ และประชาชน 1 ครั้ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนได้รับทราบและให้ความร่วมมือสนับสนุน การทำกิจกรรมของโครงการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

สภาผู้นำ  20  คน  ประชาชน  92 คน

6,400.00 6,400.00 160 112 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.  ประชาชนให้ความร่วมมือเข้าประชุม ครอบคลุมทุกพื้นของหมู่บ้าน
2.  ประชาชนสนใจร่วมกิจกรรมครบ 70 ครัวเรือน 3.  ประชาชนสนับสนุนพื้นที่นาสาธิต และสวนสาธิต 4.  ประชาชนทุกกลุ่มอายุเข้าร่วมประชุม และสนใจการประชุมตลอดระยะเวลา 5.  การประชุมมีภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม และรับว่าจะเข้าร่วมโครงการไปตลอด 6.  ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมครัง้นี้ได้มีการประชุมคณะทำงาน  และประชาสัมพันธ์ล่วงหน้าก่อน 3 วัน หลังประชุมก็มี การสุรป AAR

สภาผู้นำ  20  คน  ประชาชน  92 คน

6,400.00 0.00 160 112 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.  ประชาชนให้ความร่วมมือเข้าประชุม ครอบคลุมทุกพื้นของหมู่บ้าน
2.  ประชาชนสนใจร่วมกิจกรรมครบ 70 ครัวเรือน 3.  ประชาชนสนับสนุนพื้นที่นาสาธิต และสวนสาธิต 4.  ประชาชนทุกกลุ่มอายุเข้าร่วมประชุม และสนใจการประชุมตลอดระยะเวลา 5.  การประชุมมีภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม และรับว่าจะเข้าร่วมโครงการไปตลอด 6.  ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมครัง้นี้ได้มีการประชุมคณะทำงาน  และประชาสัมพันธ์ล่วงหน้าก่อน 3 วัน หลังประชุมก็มี การสุรป AAR

กิจกรรมหลัก : 17.การประชุมประจำเดือน/ติดตามประเมินผลเพื่อรายงานความก้าวหน้ากิจกรรมโครงการi

10,000.00 20 ผลผลิต

แกนนำ จำนวน 20 คนมีการประชุมประเดือน กำหนดแผนการทำงานของกิจกรรม มีการรายงานความก้าวหน้าของโครงการ แบ่งงานรับผิดชอบ สรุปประเด็นที่สำคัญ ปรึกษาหารือแถวทางการดำเนินงาน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

แกนนำรับความทราบความก้าวหน้าหน้า รับรู้ปัญหา ปรึกษา แก้ไข กำหนดแถวทางการดำเนินงานกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

สภาผู้นำ 20 คน

850.00 850.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สภาผู้นำรับทราบปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในแต่ละกิจกรรม ปรึกษาหารือหาทาง แก้ใขปัญหาที่เกิดเพื่อนำไปปรับเปลี่ยนในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป

  • ร่วมกับกำหนดวางแผนงานการทำกิจกรรมของโครงการ และมอบหมายหน้าที่ในการทำกิจกรรม

สภาผู้นำ15 คน

850.00 850.00 20 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้กำหนดแผนงานจัดกิจกรรมร่วมกัน แสดงความคิดเห็น แนวทางการปฏิบัตงาน เพื่อความพร้อมในการทำกิจกรรม

สภาผู้นำ18 คน

850.00 850.00 20 18 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจสอบความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของรายงานกกิจกรรม เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าร่วมประชุมประเมินติดตามของ สจรส.

สภาผู้นำ 20 คน

850.00 850.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกภาแกนนำจำนวน 20 คน เข้าร่วมประชุม ทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมา และตกลงมอบหมายหน้าที่เพื่อการจัดกิจกรรมตามโครงการในครั้งต่อไป

สภาผู้นำ12 คน

850.00 850.00 20 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้กับคนชุมชนรับทราบถึงสถารณ์การใช้สารเคมีอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างจิตสำนึกในการ ลด ละ เลิก ใช้เคมี ได้รับความร่วมมือร่วมใจในการปฏิบัติงานระหว่าง สภาผู้นำ ครัวเรือนต้นแบบ สามาชิกในโครงการ คนในชุมชนได้บริโภคพืชผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษ

สภาผู้นำ 10 คน

850.00 850.00 20 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้มีการจัดเตรียมกระบวนการทำกิจกรรมได้รับความร่วมมือทุกภาคส่วน การประสานงานอาคารสถานที การประชาสัมพันธ์ และวัสดุอุปกรณ์ ให้พร้อมสำหรับการทำกิจกรรมสื่อเผยแพร่ข้อมูลชุมชน

สภาผู้นำ 11 คน

850.00 850.00 20 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สถาผู้นำรับทราบปัญหาอุปสรรคของกิจกรรมที่ผ่านมา ปรึกษาหารือ แก้ใข

สภาผู้นำ 13 คน

850.00 850.00 20 13 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สภาผู้นำรับทราบผลกิจกรรมทีทำมาครั้งก่อน วิธีการดำเนินงาน มีปัญหา อุปสรรคอะไรบ้าง แก้ไขปัญหาอย่างไร ได้แสดงความคิดเห็นในการดำเนิดกิจกรรมสามาชิกกลุ่มเด็กเยาวชนรักษ์โคกแย้ม ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโครงการ มอบหมายหน้าที่แบ่งงานกันทำ แสดงถึงความร่วมมือร่วมใจที่ทำกิจกรรม

สภาผู้นำ จำนวน 12 คน

850.00 850.00 20 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สภาผู้นำ แกนนำรับทราบถึงผลกิจกรรมที่ทำครั้งก่อน สรุปงาน และจัดเตรียมทำเอกสารด้านการเงิน แสดงถึงการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม และมีความพร้อมที่จะทำกระบวนใหม่ในพื่นที่สวยยาง เพื่อสร้างสวนสาธิตสวนเกษตรอินทรีย์ที่มีพร้อมพืชอาหารในครัวเรือน

สภาผู้นำ 12 คน

850.00 850.00 20 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดเตรียมแผนงานทำกิจกรรม รับทราบข้อมูลติดตามประเมินผลเพื่อรายงานความก้าวหน้าของกิจกรรม รับรู้ถึงปัญหา ปรึกษาแก้ไข

สภาผู้นำ 15 คน

850.00 850.00 20 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แกนนำรับทราบการเข้าร่วมประเมินติดตามของ สจรส.

  • วิธีการทำงานจัดเตรียมความพร้อม วิธี การรายงานผ่านเว็บ

  • ผู้จัดทำบัญชี เข้าใจรายละเอียดการลงบัญชี วิธีการลง ข้อพึงระวัง การจัดหมวดหมู่

  • คณะทำงานช่วยกันตรวจสอบเอกสาร เตรียมเอกสาร ความสมบรูณ์ของเอกสาร

  • กำหนดการทำกิจกรรมการออกบธูเผยแพร่ข้อมูล แบ่งหน้าที่การจัดการแต่ละคน

สภาผู้นำ 15 คน

650.00 650.00 20 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานร่วมกันวิเคารห์ข้อมูลการทำกิจกรรมของโครงการ ได้รับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงของคนในชุมชนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีในการทำเกษตรลดน้อยลง หันมาทำการเกษตรที่ปลอดสารเคมี การทำนาคนในชุมชนได้เรียนการทำนาอินทรีย์แบบต่างๆ /การทำนาโยน/การทำนากล้าต้นเดียว /การทำนาดำ/การทำนาหว่านตม  ใช้ปุ่ย อินทรีย์ ไม่ใช้สารเคมี  การทำสวนเพาะปลูกพืชผักสวนครัว  ใช้ปุ่ยอินทรีย์ชิวภาพที่สมาชิกของโครงการร่วมกันทำ คนในชุมชน ลด ละ เลิกใช้สารเคมี ตระหนักถึงผลกระทบของการใช้สารเคมี กลุ่มเด็กเยาวชนได้เข้ามามีส่วนรวมในการทำกิจกรรมของโครง มีการพัฒนาศักยภาพ ในด้านการพูด การแสดงละคร การสือสาร ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารสู่ชุมชน
  • เจ้าหน้าที่การเงินและผู้รายงานผ่านเว็บ ได้จัดเตรียมเอกสารเพื่อความพร้อมในการตรวจสอบ ปิดโครงการ

กิจกรรมหลัก : 12. ครัวเรือนปฏิบัติการที่เป้นตัวแทนของครัวเรือน 1:4 และครัวเรือนต้นแบบ ปลูกพืชผักปลอดสารพิษสนับสนุนการบริโภคของชุมชน พร้อมทั้งการทำบัญชีครัวเรือน และแผงจัดให้มีแผงนำเสนอผลิตผลจากโครงการ 2 แผงi

10,400.00 70 ผลผลิต

ครัวเรือนปฏิบัติการ 50 คน ครัวเรือนต้นแบบ 20 ครัว ได้รับวัสดุอุปกรณ์การปลูกพืชผักสวนครัว


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

สมาชิกได้ลงมือปฏิบัติทำจริง เรียนรู้ด้วยตนเอง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ครัวเรือนต้นแบบ แกนนำ  ครัวเรือนปฏิบัติการ

10,400.00 10,400.00 70 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ส่งเสริมให้คนในครัวเรือนมีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี
มีพืชผักที่ปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน เหลือจากการบริโภคก็แบ่งปัน เหลือจากแบ่งปันก็ จัดจำหน่าย ในหมู่บ้าน เป็นการสร้างรายได้อีกทางหนึ่ง เพื่อสุขภาพคนในครัวเรือนและชุมชน

กิจกรรมหลัก : 2. ประชุมสภาผู้นำออกแบบเครื่องมือจัดเก็บข้อมูลสถานการณ์ ปริมาณ ชนิด ประเภท ของสารเคมีที่ใช้ในชุมชน ข้อมูลผลกระทบต่อคน โซ่อาหาร และสำรวจภูมินิเวศ ของชุมชน ในครัวเรือน ในนา ในสวนi

6,200.00 20 ผลผลิต

คณะทำงาน 20 คน ร่วมกับนักวิชาการเรียนรู้การออกแบบสอบถาม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงานเข้าใจการตั้งคำถามเพื่อให้ได้มาข้อมูลที่ต้องการและได้แบบสอบถาม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

สภาแกนนำ 20 คน

6,200.00 6,200.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • แกนนำ  20 คน ได้เรียนรู้เรื่องสารเคมีที่ใช้ในการเกษตรของคนในชุมชนบ้านโคกแย้ม ส่งผลกระทบ ต่อ คนเรื่องปัญหาสุขภาพเป็นโรคผิวหนัง ต่อสัตว์เลี้ยงที่สัมผัสกับสารเคมีทางการเกษตร และต่อสิงแวดล้อมในชุมชน เช่น น้ำเสีย การชะล้างหน้าดิน

  • ได้แสดงความคิดเห็นในการออกแบบสำรวจข้อมูลการใช้สารเคมี และ ผลกระทบจากากรใช้สารเคมี

คระทำงาน 

6,200.00 0.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แบบสำรวจข้อมูลที่เหมาสมกับพื้นที่ และผู้จัดเก็บ

กิจกรรมหลัก : 3. สร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือ เพื่อจัดเก็บข้อมูลทุกครัวเรือน (210 ครัวเรือน)i

6,025.00 55 ผลผลิต

คณะทำงาน 20 คน เด็กเยวาชน 20 คน รับทราบการชี้แจงวิธีเก็บข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม และประสานความร่วมมือจากผู้ให้ข้อมูล


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้เก็บข้อมูลเข้า และเก็บข้อมูลได้ ถูกต้อง ครบถ้วน ทุกข้อคำถาม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

เยาวชน 35คน แกนนำ 20คน

6,025.00 0.00 55 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด้กเข้าใจการใช้เครื่องมือ และคณะทำงานเข้าใจถึงผลที่จะได้รับ

เยาวชน 17 คน  แกนนำ 20 คน  สท 4 คน แกนนำเยาวชนนาท่อม 4 คน

6,025.00 6,025.00 55 45 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด็กเยาวชน และแกนนำ ได้เข้าใจในตัวแบบสำรวจสารเคมีและผลกระทบในการใช้สารเคมี และวิธีในการเก็บข้อมูล

กิจกรรมหลัก : 4. เรียนรู้การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ 1 ครั้ง และการเขียนรายงานสถานการณ์การใช้สารเคมี และผลกระทบจากสารเคมีในชุมชน 1 ครั้งi

4,250.00 55 ผลผลิต

คณะทำงาน 20 คน เด็กเยาวชน 35 คน และนักวิชาการ นำข้อมูลที่ได้มาชี้แจง แยกเป็น 3 ประเภท คือ อัตราการใช้สารเคมี ความคิดเห็นต่อการใช้สารเคมี และพฤติกรรมการใช้สารเคมมี


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงานและเด็กเยาวชน ได้ร่วมวิเคราะห์ ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน และได้ผลการวิเคราห์เพื่อนำเสนอต่อชุมชนต่อไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

แกนนำ และ เยาวชน

4,250.00 4,250.00 55 55 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เรียนรู้ศึกษาข้อมูลการใช้สารเคมีและผลกระทบจากการใช้สารเคมีในพื้นที  วิธีการลด ละ เลิก การใช้สารเคมี
ตระหนักถึงผลกระทบขอกการใชสารเคมี ปรับเปลี่ยนวิธีการใช้สารเคมีในการเกษตร

กิจกรรมหลัก : 5. เวทีเรียนรู้สถานการณ์การใช้สารเคมี และผลกระทบจากสารเคมีในชุมชน โดยการทำนิทรรศการข้อมูล การตั้งวงชวนคุย และการร่วมกำหนดมาตรการชุมชน(ข้อมูลจากการสำรวจ) โดยที่ชุมชนสนับสนุนสถานที่ และร่วมกันจัดทำอาหาร หวาน คาว ภายใต้วงเงินที่ได้รับi

17,900.00 120 ผลผลิต

คณะทำงาน เยาวชน สมาชิกโครงการ และภาคีอื่นๆ ร่วมรับรับฟัง โดยมีวิทยากรดำเนินการ 2 คน ผู้ร่วมคุย 5 คน พร้อมจัดป้ายนิทรรศ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประชาชนให้ความสนใจ ต่อป้ายนิทรรศและร่วมรับฟัง โต้ตอบ สอบถาม ด้วยความสนใจ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

แกนนำ สามาชิก เด็กและเยาวชน.

17,900.00 17,900.00 120 126 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คนในชุนชนรู้ถึงสถานการณ์การใช้สารเคมี และ ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในพื้นที่ ตระหนักถึงการ ลด ละ เลิก ใช้สารเคมี ปลูกพืชผักที่ปลอดสารพิษ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการทำการเกษตร เด็กเยาวชนได้มีส่วนร่วมในการเก็บข้อมูลการใช้สารเคมี ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในชุนชน สามารถอธิบาย ถึงพิษภัยของการใช้สารเคมี  ผลกระทบที่มีต่อสิงแวดล้อมในชุมชน

กิจกรรมหลัก : 6. เรียนรู้เรื่องการลดการใช้สารเคมี การทำเกษตรอินทรีย์ ที่บ้านควนกุฏิ การทำนาอินทรีย์ ที่วิชชาลัยรวงข้าว บ้านท่าช้างการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เพื่อการทำปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง (ปุ๋ยแห้ง ปุ๋ยน้ำหมัก สารไล่แมลง) การเกษตรอินทรีย์ที่ครัวเรือน และการทำนาอินทรีย์i

23,900.00 70 ผลผลิต

คณะทำงาน และสมาชิก 70 คน ไปเรียนรู้พื้นที่ต้นแบบ 1 วัน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

สมาชิกสนใจ สอบถาม ทำความเข้าใจ จนส่วนใหญ่เข้าใจในหลักคิด วิธีการ เพื่อสู่ความสำเร็จ และยังได้กำหนดกิจกรรมต่อเนื่องเพื่อกลับมาทำในครัวเรือน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

กรรมการ  20 คน  สามาชิกครัวเรือนต้นแบบ  20 คน  อสม. 10 คน เจ้าหน้าทีสาธาณรสุข 1 คน สท. 1 คน ( สำหรับสามาชิกครัวเรือนปฎิบัติการจะจักให้ดูงานครั้งต่อไป )

23,900.00 23,900.00 70 52 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามาชิกได้เห็น ได้เรียนรู้ ความสำเร็จของการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยอาศัยแผนพัฒนาชุมชนเป็นหลัก และเป็นแนวทางในการนำมาปรับใช้กับชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตร และเลี้ยงสัตว์ไว้ใช้ในครัวเรือน

กรรมการ  20 คน  สามาชิกครัวเรือนต้นแบบ  20 คน  อสม. 10 คน เจ้าหน้าทีสาธาณรสุข 1 คน สท. 1 คน ( สำหรับสามาชิกครัวเรือนปฎิบัติการจะจักให้ดูงานครั้งต่อไป )

23,900.00 0.00 70 52 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามาชิกได้เห็น ได้เรียนรู้ ความสำเร็จของการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยอาศัยแผนพัฒนาชุมชนเป็นหลัก สมาชิกได้แสดงความเห็น ทั้งที่เห็นต่าง เห็นชอบ ได้ร่วมตัดสินใจในกระบวนขับเคลื่อนต่อในพื้นที่โครงการ

กิจกรรมหลัก : 7. ฐานที่1การเรียนรู้ปลอดภัยจากสารเคมีปนเปื้อนในการประกอบอาหาร (การปลูก การเลือก การล้าง การปรุง) ฐานที่ 2การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เพื่อการทำปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง (ปุ๋ยแห้ง ปุ๋ยน้ำหมัก สารไล่แมลง)i

22,400.00 70 ผลผลิต

สามาชิกโครงการ และคณะทำงาน จำนวน 70คน ร่วมเรียนรู้ โดยมีวิทยากรจากสถาณีอานามัยประจำฐานที่ 1 และวิทยากรจากแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ในชุมชน ประจำฐานที่2


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประชาชนให้ความร่วมมือ และสนใจ ทั้ง2ฐาน และยังได้ร่วมกันลงขันจัดซื้อปุ๋ยคอก(ขี้หมู) และขุยมะพร้าว) เพื่อทำปุ๋ยหมักใช้เองในครัวเรือน และยังทำน้ำหมักจากหอยเชอรี่ด้วย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

สมาชิก 70 คน แกนนำ  เด็กเยาวชน

22,400.00 22,400.00 70 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง เพื่อความปลอดภัยจากสารเคมีปนเปื้อน ตั้งแต่การปลูก การเลือก การล้าง การปรุง ในฐานที่1
  • ได้เรียนรู้การปฏิบัติจริง การทำปุ๋ยอิทรีย์ใช้เอง การเลือกวัสดุ กระบวนการทำ ปริมาณที่นำไปใช้ในฐานที่ 2

แกนนำ สมาชิกโครงการ เด็กเยาวชน

0.00 0.00 70 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แกนนำ และสมาชิกโครงการ ได้ลงมือปฏิบัติจริงในการทำแปลงสวนสาธิต ได้เห็นวิธีการขั้นตอนการทำปุ๋ยอินทรีย์ วัสดุอุปกรณ์ ระยะเวลาในการหมัก วิธีการนำปุ๋ยไปใช้และวิธีการใส่ปุ๋ย
ได้รับความรู้ การเลือกพืชผัก การล้าง การปรุงก่อนที่นำมาประกอบอาหาร เพื่อความปลอดภัยจากสารเคมีที่ปนเปื้อน ตระหนักถึงการใช้สารเคมี ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีในการเกษตร

กิจกรรมหลัก : 8. เรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องการเขียนบทความ การเขียนข่าว การเล่าเรื่อง บทกลอนท้องถิ่น(เพลงบอก) การแสดงเพื่อสื่อข้อมุูลชุมชนที่ได้จาการสำรวจ สู่ชุมชนi

7,200.00 35 ผลผลิต

เด็กเยาวชน 35 คน ร่วมกันเรียนรู้การเขียนบทความ การเขียนข่าว การเล่าเรือง บทกลอนท้องถิ่น เพื่อเป็นสื่อข้อมูลข่าวสารสู่ชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เด็กเยาวชนให้ความสนใจที่จะได้เรียนรู้ และเพิ่มทักษะในด้าน การเขียน การเล่าเรื่อง การแสดงละคร ผลิตสื่อได้ เพื่อทำเป็นสื่อสู่ชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

เด็กเยาวชน  35 คน

7,200.00 7,200.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด็กเยาวชนรับรู้ถึงสถานการณ์การใช้สารเคมีและผลกระทบการใช้สารเคมีในชุมชน ที่สามารถนำมาเขียนเป็นบทความ การเขียนข่าว การเล่าเรื่อง บทกลอน เพื่อสือถึงคนในชุมชนได้รับรู้ในต่อไป

กิจกรรมหลัก : 9. เวทีการแสดงเพื่อนำเสนอข้อมูลสู่ชุมชนผ่านบทความ เรื่องเล่า ภาพข่าว เพลงบอก การแสดงละครหุ่นเงา ของเยาวชนในวันสาร์ทไทย ประเพณีท้องถิ่น ณ วัดโคกแย้มi

5,500.00 35 ผลผลิต

เด็กเยาวชน 35 คน ร่วมกันนำเสนอข้อมูลข่าวสารสู่ชุมชน โดยการแสดงละคร


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คนในชุมชนให้ความสนใจ และเข้าใจในเรื่องสถานการณ์ การใช้สารเคมี และผลกระทบการใช้สารเคมีในพื้นที่ และซักถามข้อมูลเพิ่มเติมกับเด็กเยาวชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

เด็กเยาวชน 35 คน

5,500.00 5,500.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กเยาวชนรับรู้ข่าวสารการใช้สารเคมีในชุมชนอย่างต่อเนื่องและสามารถขยายผลสู้ชุมชนโดยการแสดงละคร การใช้สารเคมใช้พื้นที่ชุมชน ผลกระทบของการใช้ เปรียบเทียบผลการใช้สารเคมี ระหว่างพื้นที่ใช้สารเคมีกับพื้นที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ให้เห็นเป็นภาพที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

  • เด็กเยาวชนมีการพัฒนาการ กล้าแสดงออกมาขึ้น สนใจและให้ความร่วมมือที่จะเข้าร่วมทำกิจกรรม

  • เด็กเยาวชนได้เรียนทักษะการแสดงละครภาษาการพูด จังหวะการแสดง สมาธิในการแสดง ความเข้าใจในบทบาท การสือข้อมูลที่ถูกต้อง จากผู้ฝึกสอน

  • คนในชุมชนรับรู้ข่าวสารอย่างการใช้สารเคมี ผลกระทบการใช้สารเคมี ต่อสิ่งแวดล้อม ลดละการใช้สารเคมีผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์กลุ่มเด็กเยาวชนเป็นการแสดงละคร รับรู้ข่าวสารการใช้สารเคมีผลกระทบการใช้ การลด ละ เลิก การใช้อย่างต่อเนื่อง

สภาผู้นำ นักเรียน ประชาชน

0.00 0.00 200 200 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คนในชุมชนรับรู้ข่าวสารข้อมูลจากเวทีคืนข้อมูล รู้ถึงสถานการณ์การใช้สารเคมมี ผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมและคนในชุมชน อย่างต่อเนือง แกนนำ สามาชิกโครงและผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้พูดคุยเสวนา แสดงความเห็น กำหนดมาตรการทางการใช้สารเคมีในชุมชน เป็นการกำหนดมาตรการร่วมกัน  สื่อถึงการรับรู้ข้อมูลข่าวอย่างต่อเนื่องตลอดของการทำกิจกรรมโครงการ
การแสดงความคิดของคนในชุมชนบอกถึงการเข้าใจถึงสภาวะการใช้สารเคมีผลกระทบ ต่อคนในพื้นที่
เด็กเยาวชนได้มีการแสดงละครสท้อนถึงปัญหาสารเคมี ทำให้เด็กเยาวชนกล้าแสดงมากขึ้น มีความสนุนสนามกับการทำการแสดง การแสดงละครเป็นสื่อที่ส่งถึงผู้เข้ากิจกรรมทำความเข้าใจได้ง่าย และมีภาพนิทรรศการข้อมูลทำให้คนเห็นภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

กิจกรรมหลัก : 13. สำรวจสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นของแปลงสาธิต (นา+สวน) ประชุมแลกเปลี่ยน สรุป ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อระบบสุขภาพของชุมชน และจัดทำรายงาน 2 ครั้ง(ก่อน -หลัง) เพื่อสื่อสารถึงชุมชนi

13,450.00 55 ผลผลิต

คณะทำงาน 20 คน เยาวชน 35 คน ร่วมกันสำรวจสิ่งแวดล้อมในแปลงนาก่อนทำนา


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

โดยเฉพาะเยาวชนให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง แสดงออกถึงความตื่นเต้น การรอคอย เพื่อไปสำรวจ ร่วมกับคณะทำงาน ซึ่งคอยให้คำแนะนำด้วย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

สภาผู้นำ20 นักเรียน 35 คน

13,450.00 6,725.00 55 55 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เรียนรู้ถึงสภาพสิงแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปจากการใช้สารเคมีในนาข้าว  ส่งผลกระทบต่อ ดิน น้ำ พืช สัตว์ วีถีการทำนาโดยการพึงพิงการใช้เครื่องจักรกลมากเกินไป  เด็กเยาวชนได้เรียนรู้สัมผัสวิถี ขั้นตอนการทำนาเพิ่มมากขึ้น

สภาผู้นำ 15 คน นักเรียน 35 คน ร่วมสำรวจสวนยางที่จะทำเป็นแปลงสาธิต

0.00 6,725.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เด็กเยาวชน คณะทำงาน ได้เห็นความจริงจากสวนยางว่า เป็นอย่างไร ซึ่งพบว่า สวนยางที่เคยได้รับการจัดการกึ่งอินทรีย์ กึ่งเคมีมาก่อนนั้นเป็นเช่นนี้

  1. สวนยางมีหญ้าขึ้นปกคลุมทั่วสวน แต่ไม่รก เจ้าของสวนจัดการหญ้าด้วยการตัดหญ้าเป็นประจำ และเลือกตัดเฉพาะแถวต้นยาง ส่วนระหว่างแถวยังคงปล่อยให้หญ้าปกคลุมดิน
  2. ดินยังความชุ่มชื้น มีขี้ใส้เดือนให้เห็นอยุ่บ้าง รากฝอยของยางสามารถพบได้ที่ผิวดิน เพียงตะกุยเศษใบไม้ออก
  3. พืชอาหารในสวนยางที่พบ เช่นบอนส้ม ลำเพ็ง ผักกูด
  4. ใบไม่ที่ทับถม ชั้นล่างเริ่มผุเปื่อยเหลือแต่ก้านใบและร่างแหของใบส่วนใบบนถัดขึ้นมาก็มีการย่อยสลายน้อยลงจนบนสุดยังเป้นใบที่สมบูรณ์
  5. สรุป ผู้เข้าร่งวมกิจกรรมได้เห็นผลจากการสำรวจ และได้รับฟังหลักคิด หลักการ ของคนจัดการสวนกึ่งอินทรีย์และพร้อมที่จะติดตามการจัดการสวนอินทรีย์เต็มรูปแบบจากโครงการนี้ต่อไป

กิจกรรมหลัก : 14. ปฏิบัติการทำนาอินทรีย์ 4 ไร่ 4 แบบ- การทำนาหว่านน้ำตม- การทำนาดำ- การทำนาโยน- การทำนาต้นเดียว50x50ซมล้มตอซังi

9,725.00 55 ผลผลิต

นาหว่านน้ำตม 1 ไร่ นาดำล้มตอซัง 1 ไร่ นาดำกล้าต้นเดียว 1 ไร่ และนาโยน 1 ไร่ ทุกคนตื่นเต้นกับความรู้ใหม่จากนักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ศุนย์วิจัยข้าวพัทลุง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงาน และเยาวชน ตื่นเต้นและให้ความสนใจกับการทำนาโยน แต่ไม่คุ้นกับการดำกล้าต้นเดียว ต้องคอยกำชับเรื่องต้นเดียว ส่วนนาดำ กับนาหว่านทำกันเป็นปกติอยู่แล้ว

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

สภาผู้นำ 20  นักเรียน 35

9,725.00 9,725.00 55 55 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แกนนำ และ สามาชิกของโครงการ ได้เรียนรู้การทำนา ทั้ง 4 แบบ    เปรียบเทียบความแตกต่างการทำนา เด็กนักเรียนได้สัมผัสการทำนา วิธีการทำนาแบบต่างๆ  ได้เรียนรู้การทำอาหารจากหอยเชอรี

กิจกรรมหลัก : 15. ปฏิบัติการทำสวนอินทรีย์ 4 ไร่i

6,500.00 55 ผลผลิต

แกนนำ 20 คน เด็กเยาวชน 35 คน ร่วมกันทำสวนอินทรีย์ชีวภาพ ทั้ง4 ไร่


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้เรียนรู้การปฏิบัติทำจริง เด็กเยาวชนให้ความสนใจ การลงมือปลูกผัก และใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ แทนการใช้ปุ๋ยเคมี ก่อนซักถามข้อมูลจาก แกนนำอยู่ตลอด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

แกนนำ 20 คน นักเรียน35 คน

6,500.00 6,500.00 55 55 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงาน เด็กเยาวชน และสามาชิกของโครงการการลงมือปฏิบัติทำจริงเกิดการเรียนรู้ทางด้านการทำเกษตรอินทรีย์ที่ปลอดภัยจากการใช้สารเคมี โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพส่งเสริม ปลูกฝังแนวคิดการลด ละ เลิก การใช้สารเคมี เด็กเยาวชนมีความสนใจซักถามในการทำปุ๋ยหมัก และวิธีให้ปุ๋ยแก่พืชผัก ได้ลงมือทำปุ๋ยหมักด้วยตนเอง สมาชิกโครงการได้เห็นได้เรียนรู้กระบวนการจัดการสวนยางแบบเกษตรอินทรีย์ และมีควมมั่นใจว่าปุ๋ยอินทรีย์ จากะรรมชาติ ใช้แล้วได้ผลดี ลดต้นทุน เพิ่มผลิต ตามที่เจ้าของสวนได้แนะนำ

กิจกรรมหลัก : 16. สภาผู้นำสรุปข้อมุลจากกระบวนการตลอดโครงการ สรุปทำเป็นหลักสุตรชุมชนสำหรับเผยแพร่ในชุมชน และโรงเรียนi

4,760.00 23 ผลผลิต

แกนนำ 20 คน ครู 2 คน นักวิชาการ 1 คนร่วมกันสรุปกระบวนการเรียนรู้การจัดการเกษตรอินทรีย์


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนได้รับรู้และสนใจและนำการเรียนรู้ไปปรับเปลี่ยนการทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

สภาผู้นำ 17 คน  ครู 2คน นักวิชาการ 1 คน

4,760.00 4,760.00 23 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สภาผู้นำและครู นักวิชาการได้ร่วมกันสรุปเรื่อง กระบวนการเรียนรู้ การใช้สารเคมี ผลกระทบการใช้สารเคมีการ ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีในชุมชน หันกลับมาทำการเกษตรอินทรีย์สร้างกระบวนจัดการ การทำเกษตรอินทรีย์ในชุมชน เก็บข้อมูลทุกขั้นตอนของการทำเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่การเตรียมพื้นที่ การปลูก การใช้ปุ๋ย การเก็บ ผลผลิต จะได้ทราบถึงข้อมูลกระบวนการจัดการตั้งแต่ขั้นต้น นำข้อมูลที่มาจัดทำเป็นหลักสูตรการทำเกษตรอินทรีย์ เผยแพร่ข้อมูลต่อชุมชน/โรงเรียน

กิจกรรมหลัก : 18. เวที่คืนข้อมูลสู่ชุมชน สรุปงาน ผ่าน สื่อบทความ ภาพข่าว เพลงบอก การแสดง พร้อมแถลงมาตรการทางสังคม ที่การลดการใช้สาร ลดสารเคมีตกค้าง ในห่วงโซ่อาหาร และในคน โดยที่ชุมชนสนับสนุนสถานที่และร่วมกันจัดอาหาร หวาน คาว ภายใต้วงที่ได้รับi

8,000.00 200 ผลผลิต

แกนนำ 20 นักเรียน 35 คน ประชาชน 140 คน ร่วมกันแสดงความคิด การลด ละ เลิก ใช้สารเลิกเคมี ในชุมชน สรุปเป็นกฏ กติกา มีสาระหลักคือ จะไม่ฉีดยาฆ่าหญ้าในแปลงนา และในสวนยางแถลงการณ์ทางสู่ชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คนในชุมชนให้ความสนใจหันมาให้ความร่วมมือในการทำเกษตรอินทรีย์ ชุมชนได้รับทราบถึงข้อมูลการใช้สารเคมี และให้ความร่วมมือ มีกฏ กติกาลดการใช้สารเคมีในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงาน 20 คนนักเรียน 35 คน ประชาชน 95 คน ภาคีอื่น 5คน

8,000.00 8,000.00 200 155 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คนในชุมชนรับรู้ข่าวสารข้อมูลจากเวทีคืนข้อมูล รู้ถึงสถานการณ์การใช้สารเคมมี ผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมและคนในชุมชน การปรัปเปลี่ยนฟฤติกรรมการใช้ การ ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี หันกลับมาทำเกษตรอิทนรีย์ ช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  • แกนนำ สามาชิกโครงและผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้พูดคุยเสวนา แสดงความเห็น กำหนดมาตรการทางการใช้สารเคมีในชุมชน
  • เป็นการกำหนดมาตรการร่วมกันสื่อถึงการรับรู้ข้อมูลข่าวอย่างต่อเนื่องตลอดของการทำกิจกรรมโครงการ
  • การแสดงความคิดของคนในชุมชนบอกถึงการเข้าใจถึงสภาวะการใช้สารเคมีผลกระทบ ต่อคนในพื้นที่ ให้ความสนใจ ซักถามข้อมูล แสดความคิดเห็น
  • เด็กเยาวชนได้มีการแสดงละครสท้อนถึงปัญหาสารเคมี ทำให้เด็กเยาวชนกล้าแสดงมากขึ้น มีความสนุนสนามกับการทำการแสดง
  • การแสดงละครเป็นสื่อที่ส่งถึงผู้เข้ากิจกรรมทำความเข้าใจได้ง่าย และมีภาพนิทรรศการข้อมูลทำให้คนเห็นภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

กิจกรรมหลัก : หนุนเสริมติดตามการดำเนินการของ สจรส.i

10,000.00 3 ผลผลิต

ผู้รับผิดชอบ ผู้ทำรายงาน และการเงินได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

จัดการโครงการได้ตามแผน รายงานตรงเวลา การเงินถูกต้อง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 9 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ /ผู้จัดทำรายงานผ่านเว็บ

2,500.00 940.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. หลักเกณฑ์การดำเนินงานตามโครงการอย่างโปร่งใส มีส่วนร่วม และใช้จ่ายงบประมาณภายใต้กิจกรรมเป็นหลัก
  2. หลักฐานการเงินให้ใช้ใบเสร็จรับเงิน ของหน่วยบริการนั้นนั้น หากใม่มีใบเสร็จให้ใช้ใบสำคัญรับเงินตามแบบที่ สสส.กำหนด
  3. การจำแนกรายจ่าย ให้แยกลงรายจ่ายตามประเภทให้ถูกต้อง
  4. การจ่ายเงินทุกครั้งให้ทำบัญชี และมีผู้เกี่ยวข้องลงนามรับรองให้เป้นปัจจุบัน
  5. การรายงานผล เมื่อเสร็จกิจกรรมให้ลงบันทักผ่านเว็บ ในรายงานผู้รับผิดชอบ
  6. การจัดกิจกรรมทุกครั้งต้องจัดให้มีป้ายเขตปลอดบุหรี่และยาเสพติดตามที่ สสส กำหนด
  7. การรายงานต้องมีภาพถ่ายกิจกรรมแนบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน ผู้รายงานกิจกรรมผ่านเว็บ 1 คน

1,000.00 520.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

อาจารย์ ไพฑรูย์ สอนเรื่องรายงานผ่านเว็บ ขั้นตอนในการรายงาน การเงิน รายละเอียดของกิจกรรม  การลงปฏิทิน  รายงานตามงวด  การรายงานกิจกรรมให้ทันเวลา

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน ผู้รายงานกิจกรรมผ่านเว็บ 1 คน

1,000.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมอพัฒนาได้รับทราบ และจะถิือปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน  พี่เลี่้ยง และผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจตรงกัน 

ผู้รับผิดชอบโครงการ

500.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รู้ว่าการถอนเงินคืน ถึงแม้ว่าจะเป็นเงินของเรา แต่ต้องรายงานกิจกรรมผ่านเวบไซต์ และทำหลักฐานการเงินด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้รายงานผ่านเวปไซร์

500.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รับความรู้เข้าใจจากการแนะนำ สามารถนำมาปฏิบัติได้ในการรายงานผ่านเวปไซร์

ผู้รับผิดชอบโครง ผู้รายงานกิจกรรมผ่านเว็บ การเงินโครงการ

2,500.00 1,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ความพร้อมของเอกสารด้านเงิน  การลงรายละเอียดกิจกรรมของโครงการให้ครบถ้วน

ผู้รายงานผ่านเวปโครงการ

750.00 470.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราวที่เกิดขึ้นตามโครงการ ของพื้นที่ต่างๆ  ความภาคภูมิในการทำงาน การประเมินผลของการทำงานที่ผ่านมา 

ผู้รายงานผ่านเว็บ

750.00 470.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารเตรียมเรียบร้อยพร้อมตรวจ การรายงานเป็นปัจจุบัน ปิดงวด2

ผู้จัดการโครงการ  การเงิน  ผู้รายยงายผ่านเว็บ

1,500.00 1,500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจรายงานด้านเงินเรียบร้อย การรายผ่านเว็บเสร็จสมบรูณ์ เอกสารครบถ้วน พร้อมปิดโครงการ

กิจกรรมหลัก : ทำป้ายปลอดบุหรีและล้างอัดขยายภาพi

2,000.00 0 ผลผลิต

ป้ายปลอดบุหรี่ตามที่ สสส.กำหนด 1 ป้าย และข้อความป้ายปลอดบุหรี่ติดกับป้ายโครงการ 1 ชุด


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้ใช้ป้ายประชาสัมพันธ์พื้นที่ปลอดบุหรี่ในทุกกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

2  ป้าย

1,000.00 1,000.00 0 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ติดป้ายโครงการเสริมพลังชุมชนด้วยคน 3 วัย บ้านโคกแย้ม และ ป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่ไว้ที่ปรชุม  ในทุกกิจกรรมของโครงการ

ผู้รายงานผ่านเวบไซต์

1,000.00 1,000.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ภาพถ่ายประกอบการปิดโครงการครบถ้วนสมบรูณ์

กิจกรรมหลัก : จัดทำรายงานสรุปติดตามโครงการi

1,000.00 5 ผลผลิต

จัดทำรายงานการเงิน รายงานผ่านเเว็บ จัดเตรียมเอกสารความพร้อมในการตรวจสอบ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เอกสารสมบรูณ์ ครบถ้วน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้รายงานผ่านเว็บ การเงิน ผู้จัดการโครงการ

1,000.00 1,000.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารด้านการเงินจัดเตรียมครบถ้วนสมบรูณ์ ผู้รายงานผ่านเว็บได้รายงานครบทุกกิจกรรม

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
การทำนาต้นทุนต่ำ

สถาพเดิม

การทำนาหว่านน้ำตมต้องใช้เมล็ดพันธุ์ 15-20 กิโลกรัมต่อไร่ ต้องฉีดยาฆ่าหญ้า ต้องปลูกซ่อมแซม เฉลี่ยใช้แรงงานเพิ่มประมาณ 1 วัน ได้ข้าว 330 กก. การทำนาดำ ใช้เมล็ดพันธุ์ 12-15 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้แรงงานถอนกล้า ดำนา 4 วัน ได้ข้าว 400 กก.

นวัตกรรม

การดำนากล้าต้นเดียว ใช้เมล็ดพันธุ์ 4 กก. ถอน 0.5 วัน ดำ 1 วัน ไ้ด้ข้าว 400 กก.

ลดต้นทุน เพิ่มผลิตชาวนาตื่นตัวให้ความสนใจมาทำนากล้าต้นเดียว/นาโยน

เมนูหอยเชอรี่

สถาพเดิม ชาวนาต้องประสบกับปัญหาหอยเชอรี่กินต้นข้าว ต้องใช้เคมีกำจัดหอย หอยตายทิ้งเปลือกไว้ในนา เปลือหอยบาดเท้าคนทำนา ซึ้งจะติดเชื้อและบาดเจ็บรุนแรง

นวัตกรรม ส่งเสริมการจับหอยเชอรี่มาเป็นอาหาร โดยการสาธิตเมนูอาหารที่หลากหลายจากหอยเชอรี่ และนำออกเผยแพร่ จนปัจจุบันมีการกินหอยเชอรี่กันอย่างแพร่หลาย ส่วนหอยตัวเล็กจับใส่ถังทำปุ๋ยน้ำหมักหอยเชอรี่ให้ชาวนานำไปใช้

การใช้เคมีกำจัดหอยลดลง หอยเชอรี่ลดลง/ ได้แหล่งอาหารเพิ่ม ได้ปุ๋ยเพิ่ม

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ

ส่งเสริมครอบครัวต้นแบบ จัดสถานที่ให้นำผักปลอดสารพิษมาขาย ประชาสัมพันธ์

ครอบครัวขยายผล ทำปุ๋ยหมัก ปลูกผักปลอดสารพิษ ร้านค้ารับจำหน่ายให้ชุมชน

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นายถาวรคงนิล 42 ม.2 ต.นาท่อม tel. 0898776025

เป็นผู้ใหญ่บ้าน เป็นหัวหน้าโครงการ
ผู้นำการทำนาอินทรีย์ ลดการใช้สารเคมี

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
  1. ร้านค้าในชุมชนขายผักปลอดสารพิษจากชุมชน 4 ร้าน
  2. แหล่งเรียนรู้การทำสวนยางแบบเกษตรอินทรีย์ 1 แห่ง
  1. ร้านค้าจะไม่ซื้อผักจากภายนอกเข้ามาจำขายยกเว้นที่ชุมชนไม่ปลูก
  2. คนปลูกผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้นจนเหลือกิน จะนำมาฝากขายที่ร้าน 4 ร้านในชุมชนได้ทุกวัน
  3. คนซื้อส่วนใหญ่จะถามที่มาของผักก่อนตัดสินใจซื้อ

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

การรายงานผ่านเวบ

อาศัยพี่เลี้ยงอย่างใกล้ชิด

ชุมชนต้องมีความชัดเจนในเบื้องต้นสำหรับคนทำรายงานผ่านเวบ ว่ามีความรู้ความสามารในการใช้คอมพิวเตอร์ได้ดีและแนะนำให้ใช้กระบวนการตรวจงานเป็นช่องทางในการสอนงาน โดยให้ลดจำนวนพื้นที่ลง และเพิ่มเวลาให้มากขึ้นในการตรวจงานพร้อมการทำความเข้าใจในงานไปพร้อมกันโดยเฉพาะในงวดแรก ซึ่งจะเห็นผลที่เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ในงวดที่ 2

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

สำเร็จตามแผน เบิกจ่ายตามปกติ

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจากไม่มี
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

สำเร็จตามวัตถุประสงค์

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
ไม่มี
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

ผลการดำเนินงานเป็นไปตามแผน เบิกจ่ายตามปกติ

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

ไม่มี

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

คณะทำงานร่วมกันทำงานตามแผน เบิกจ่ายเงินตามกิจกรรม เกิดกลุ่มเด็กเยาวชนที่เข้มแข็งร่วมกิจกรรมโครงการตามแผน และเข้าร่วมกิจกรรมอื่นๆ ของชุมชนได้อย่างต่องเนื่องและมีความสุข ชุมชนได้บทเรียนของความสำเร็จคือการประชุมพูดคุยกันบ่อย ที่ไม่เป็นรูบแบบ การแบ่งงาน มอบหมายงาน และการประชาสัมพันธ์ให้ตรงประเด็น

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong