แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 4

รหัสโครงการ 57-01416
สัญญาเลขที่ 57-00-0955

ชื่อโครงการ เสริมพลังชุมชนด้วยคน 3 วัย บ้านโคกแย้ม
รหัสโครงการ 57-01416 สัญญาเลขที่ 57-00-0955
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1.  สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนเกิดความตระหลักในผลกระทบของการใช้สารเคมีในการเกษตรเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ละ เลิกการใช้สารเคมีในการเกษตร

1 . สภาผู้นำ 20 คน และประชาชน  140 คน มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ และเป้าหมายและวิธีการดำเนินงานตามโครง

2.  มีข้อมูลชุมชนที่เก็บรวบรวมโดยกลุ่มเยาวชนรักษ์โคกแย้ม

3.  สมาชิกโครงการ 50 คน  สภาผู้นำ 20 คน  และภาคีเครือข่ายรวม 120 คน มีความรู้เรื่องสถานการณ์ การใช้สารเคมี และผลกระทบจากสารเคมีในชุมชน

4.  สภาผู้นำและสมาชิก 70 คน มีความรู้การลดการใช้สารเคมีตั้งแต่การปลูก การเลือก การเตรีม การประกอบอาหารให้ปลอดจากสารเคมี และเรียนรู้การเกษตรอิทรีย์

5.  กลุ่มเยาวชนรักษ์โคกแย้ม  25 คน มีความรู้ในการทำสื่อ สาธารณะ ( บทความ เขียนข่าว เล่าเรื่อง ภาพข่าว บทกลอนท้องถิ่น ละคร )

2.

  1. หนุนเสริมให้เกิดการเรียนรู้ควบคู่การปฏิบัติ และเกิดรูปธรรมในการทำเกษตรอินทรีย์

1 .มีการสื่อสารสู่ชุมชนทุกช่องทางอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทุกครัวเรือนได้รับข่าวสารอย่างทั่วถึง (โดยกลุ่มเด็กเยาวชนรักษ์โคกแย้ม 35 คน ครัวเรือนต้นแบบ 20 และคสภาผู้นำ 20 คน) 2.. มีครัวเรือนปฏิบัติการลด ละ เลิกการใช้สารเคมีและปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษโดยตัวแทนครัวเรือน 1:4ครัวเรือน จำนวน 50 ครัวเรือนซึ่งผ่านการส่งเสริมความรู้แล้ว จะได้รับการสนับสนุนให้ดำเนินการปฏิบัติจริง โดยต้องปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษอย่างน้อย 5 ชนิด และมีอยู่ย่างต่อเนื่องพร้อมรับการติดตามผล และนำผลผลิตมาประกวด/โชว์แก่ชุมชนตามวิถีชุมชนมีครัวเรือนต้นแบบการเกษตรอินทรีย์ 20 ครัว - ต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในพืชผักผลไม้ในบริเวณบ้าน - ต้องปลูกพืชผักและส่งขายในที่ที่โครงการจัดให้(ร้านค้า/โรงเรียน)- ต้องทำบัญชีครัวเรือน และบันทึกข้อมูลตามที่โครงการกำหนด 3. มีแปลงสาธิตนาอินทรีย์ 4ไร่ ที่ไม่ใช้สารเคมีใดๆ ต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์เท่านั้น ต้องเป็นแหล่งเรียนรู้ เก็บข้อมูล ต้องทำบัญชีรับจ่าย ต้นทุน กำไร 4. มีสวนเกษตรอินทรีย์สาธิต 4ไร่ต้องตัดหญ้า ต้องปลูกพืชอาหารเสริมต้องใส่ปุ๋ยอินทรีย์ต้องทำบัญชีรับ/จ่ายครัวเรือน 5. สรุปจากกระบวนการเรียนรู้เป้นหลักสูตรชุมชน โดยคณะทำงาน และนักวิชาการ

3.

  1. พัฒนาการกลไกเพื่อจัดการลดผล กระทบต่อสุขภาพจาการสารเคมี และกระบวนการสร้างมาตรการทางวสังคมเพื่อการลดการใช้สารเคมี ลดสารเคมีตกค้าง ในห่วงซ่อาหาร และในคน

1.มีการประชุมสภาผู้นำ 20คน เป็นประจำทุกเดือน จำนวน 12ครั้ง ติดตามประเมินผล 4 ครั้ง 2. เวทีคืนข้อมูล แถลงมาตรการทางสังคมเพื่อการลดการใช้สารเคมี ลดสารเคมีตกค้าง ในห่วงซ่อาหาร และในคน

4.

4.เพื่อการบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมติดตามผลการรายงาน

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

 

สร้างรายงานโดย นายสมนึก นุ่นด้วง