แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 57-01507
สัญญาเลขที่ 57-00-0936

ชื่อโครงการ บ้านเหนือสะอาด ชุมชนสดใส ประชาร่วมใจพัฒนา
รหัสโครงการ 57-01507 สัญญาเลขที่ 57-00-0936
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 29 พฤษภาคม 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 มิถุนายน 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการปัญหาขยะ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. มีคนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยร้อยละ 50 ของครัวเรือนทั้งหมด
  2. ขยะในชุมชนลดลงอย่างน้อย 10%

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. ชุมชนสะอาด มีการจัดการขยะในชุมชนอย่างเป็นระบบ ภูมิทัศน์ในชุมชนสวยงาม ชุมชนน่าอยู่
  2. ชุมชนมีแผนการจัดการขยะ
  3. เกิดองค์กรการจัดการขยะในชุมชน

2.

เพื่อส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาในการจัดการปัญหาขยะในชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. เกิดการถ่ายทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาในการจัดการขยะสู่เยาวชนและคนใน ชุมชนอย่างน้อย 5 ครั้ง
  2. มีการนำภูมิปัญญามาใช้ในการจัดการปัญหาขยะ อย่างน้อย 5 รูปแบบ
  3. มีจุดเรียนรู้การแปรรูปขยะ และสามารถสร้างรายได้เสริมจากการจัดการขยะในครัวเรือนได้ อย่างน้อย 1 แห่ง

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. มีการนำภูมิปัญญาด้านการจัดการขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการจัดการปัญหาขยะในชุมชน
  2. คนในชุมชนมีการนำภูมิปัญญาด้านการจัดการขยะที่ได้รับการถ่ายทอดไปใช้จริงในครัวเรือน

3.

เพื่อสร้างชุมชนสุขภาวะ ลดเหล้า ลดบุหรี่

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. คนในชุมชนสามารถลด ละ เลิก เหล้า และบุหรี่- อย่างน้อย 20%ของกลุ่มเป้าหมาย
  2. อุบัติเหตุในชุมชนลดลง อย่างน้อย 20 %

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. คนในชุมชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงขึ้น จากการ ลด ละ เลิก เหล้า และบุหรี่

4.

เพื่อหนุนเสริมและติดตามการดำเนินงานโครงการ

  1. สามารถจัดทำรายงานกิจกรรม รายงานความก้าวหน้า รายงานการเงินได้อย่างถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน
  2. ทีมงานมีศักยภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น
  3. มีภาพถ่ายกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ
  4. มีการจัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่
  5. มีการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส.  สจรส.ม.อ. หรือพี่เลี้ยงโครงการทุกครั้ง
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมประชุมปฐมนิเทศ ประชุมติดตามโครงการ จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการ / ค่าจัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการ / ค่าภาพถ่ายกิจกรรมi

12,000.00 3 ผลผลิต
  • ติดตามโครงการ และจัดทำรายงานปิดโครงการ ในวันที่ 23 มิถุนายน 2558

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • การรายงานผลการดำเนินงานทั้งเอกสารและเอกสารบนเว็บไซด์ ตลอดจนงานเอกสารทางการเงินถูกต้อง สมบูรณ์
  • ชุมชนสามารถจัดทำรายงานความก้าวหน้าโครงการ งวดที่ 2 รายงานการเงินโครงการ และรายงานการติดตามโครงการ ได้เสร็จสมบูรณ์ พร้อมจัดให้ส่ง สจรส. ม.อ. เพื่อขออนุมัติงบในงวดที่ 3และปิดโครงการบ้านเหนือสะอาด ชุมชนสดใส ประชาร่วมใจพัฒนาได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 7 ครั้ง

  • คณะกรรมการโครงการชุมชนบ้านเหนือสะอาด ชุมชนสดใส ประชาร่วมใจพัฒนา จำนวน 2 คน คือ
  1. นางกอบกุล  ชุติมันต์  หัวหน้าโครงการ
  2. นางประไพศรี  สุทธินวล  เลขานุการโครงการ
12,000.00 4,096.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้ารับการปฐมนิเทศน์มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับแบบรายงานโครงการ การรายงานทางการเงิน การรายงานโครงการทางเวปไซต์
  • สามารถจัดทำรายงานกิจกรรมโครงการผ่านทางเว็บไซด์ได้
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกอบกุล ชุติมันต์
  • คณะทำงานโครงการ 1 คน
0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการที่เข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศโครงการ และเตรียมความพร้อมในการทำงาน สามารถจัดทำรายงานโครงการทางเว็บไซด์ได้ และมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเงิน เอกสารการเงินของโครงการขึ้นบ้าง แต่ยังคงต้องติดตามให้คำแนะเพื่อให้สามารถดำเนินงานโครงการได้อย่างถูกต้อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
  • คณะทำงานยังไม่สามารถลงรายละเอียดโครงการได้อย่างครบถ้วน เนื่องจากยังไม่ได้รับเอกสารสัญญาโครงการจาก สสส. จึงให้กลับมาดำเนินการจัดทำข้อมูลหลังจากได้รับสัญญาให้เรียบร้อยในภายหลัง
  1. นางกอบกุล ชุติมันต์  หัวหน้าโครงการ
  2. นางประไพศรี สุทธินวล เลขานุการ/เอกสาร
  3. นางเกษร ขวัญม่วง  การเงิน
0.00 700.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การรายงานผลการดำเนินงานทั้งเอกสารและเอกสารอิเล็คโทรนิคเป็นปัจจุบัน ตลอดจนงานเอกสารทางการเงินได้รับการตรวจติดตามจากพี่เลี้ยง ถูกต้อง สมบูรณ์
  • สามารถจัดทำรายงานความก้าวหน้าโครงการ งวดที่ 1 รายงานการเงินโครงการ และรายงานการติดตามโครงการ ได้เสร็จสมบูรณ์ พร้อมจัดให้ส่ง สจรส. ม.อ.
  1. นางกอบกุล ชุติมันต์  หัวหน้าโครงการ
  2. นางประไพศรี สุทธินวล เลขานุการ/เอกสาร
  3. นางเกษร ขวัญม่วง  การเงิน
0.00 0.00 2 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชุมชนบ้านเหนือสามารถทำรายงานความก้าวหน้าโครงการงวดที่ 1  รายงานการเงินโครงการงวดที่ 1 รายงานการติดตามโครงการ ได้เสร็จ สามารถจัดส่งให้ สจรส. และ สสส. เพื่อขอรับการเบิกจ่ายโครงการในงวดที่ 2
  • เอกสารการเงินครบถ้วน ถูกต้อง มีการใช้จ่ายงบประมาณโครงการตามแผน านที่วางไว้
  • นางกอบกุล ชุติมันต์ ผู้รับผิดชอบโครงการ
  • นางประไพศรี สุทธินวล คณะทำงานโครงการ
0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมอบรม แนะนำตัว พร้อมทั้งบอกความคาดหวังในการเข้าร่วมอบรมในครั้งนี้ โดยส่วนใหญ่พบว่า มีความคาดหวังในการเขียนรายงานที่สมบูรณ์ มีเนื้อหาสาระสำคัญ ตรงความความต้องการของแหล่งทุน
  • ผศ.จรูญ ตันสูงเนิน อาจารย์คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ อบรมการจัดทำรายงานโครงการให้กับผู้เข้าร่วมประชุม โดยมีเนื้อหาสาระสำคัญของการจัดทำรายงาน ได้แก่

1.การสื่อสาร (Communication)

  • การสื่อ = การรับ = ฟัง ~ อ่าน = การส่ง = พูด ~ เขียน
  • สาร (MESSAGE) คือ ความรู้สึกนึกคิด สาร มี 4 ประเภท รู้  = ความรู้ ข้อเท็จจริง (Knowledge, Fact) / ความ (รู้) สึก  = ความรู้สึก (Sense) อารมณ์ ( Emotion) / นึก  = จินตนาการ (Imagination) / คิด  = ความคิด ทรรศนะ ข้อคิดเห็น (Opinion)

2.การเขียน คือ กระบวนการ  = คิด → เขียน → ตรวจทาน / ส่งสาร = ความรู้สึกนึกคิด ให้เป็นลายลักษณ์อักษร ตามรูปแบบ และวัตถุประสงค์
3.การจัดทำรายงาน

  • รายงาน เป็นรูปแบบการเขียนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ รายงานการประชุม  รายงานประจำปี รายงานการสอบสวน
  • การจัดทำรายงาน ความหมาย “รายงาน  น. คำบอกกล่าวเรื่องราวที่ไปทำ ไปรู้ หรือไปเห็นมา / ก. บอกเรื่องของการงาน”
  • การจัดทำรายงาน  = การจัดทำเอกสารเพื่อบอกเรื่องการงานที่ไดhทำ ได้รู้ หรือได้ไปเห็นมา ได้ทำ =  รายงานการปฏิบัติงาน  รายงานการประชุม รายงานประจำปี / ได้รู้ =  รายงานการศึกษาค้นคว้า สืบสวน สอบสวน รายงานการศึกษา วิจัย สำรวจ / ได้ไปเห็น  =  รายงานการทัศนศึกษา ดูงาน ตรวจงาน
  • ประเภทของรายงาน
    • รายงานปากเปล่า Oral Reports ในสถานการณ์พิเศษ
    • รายงานลายลักษณ์อักษร Written Reports
    • รายงานลายลักษณ์อักษรและการนำเสนอด้วยวาจาในที่ประชุม
  • องค์ประกอบของรายงาน ต้อง ครบถ้วน เป็นระเบียบ
  • รูปแบบของรายงาน “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง” สวยงาม สม่ำเสมอ ถูกต้อง สบายตา เหมาะสม พอเหมาะ น่าหยิบ น่าอ่าน สะอาดเรียบร้อย

4.จรรยาบรรณของผู้ทำรายงาน

  • ซื่อสัตย์ สุจริต
  • โปร่งใส ตรวจสอบได้
  • คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม
  • ติดคุณธรรมที่ปลายปากกา

5.คุณลักษณะของรายงานที่ดี

  • องค์ประกอบ คือ สิ่งที่ควรจะมี
  • รูปแบบ        คือ สภาพหรือลักษณะที่ควรจะเป็น
  • เนื้อหา          คือ พลังในการสื่อสาร
  • ภาษา          คือ เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสาร

6.เนื้อหาของรายงาน

  • มีเอกภาพ ( Unity ) มีความเป็นกลุ่มก้อนเดียวกัน
  • มีสัมพันธภาพ ( Coherence ) มีความเป็นระบบระเบียบ ต่อเนื่องเป็นเรื่องเดียวกัน
  • มีสารัตถภาพ ( Emphasis ) มีสาระชัดเจนหนักแน่น น่าเชื่อถือ

7.การใช้ภาษาในการเขียนรายงาน ควรใช้ภาษามาตรฐานในการเขียน

  • ภาษาต่ำกว่ามาตรฐาน เช่น ภาษาพูด คำภาษาต่างประเทศ คำหยาบ คำสแลง คำย่อ คำผวน คำตัด คำภาษาถิ่น

8.ลักษณะภาษาที่ดีในการเขียนรายงาน

  • ถูกระดับ
  • ถูกไวยากรณ์
  • กะทัดรัด ประหยัด
  • ชัดเจน
  • ถูกความหมาย
  • ถูกความนิยม-วัฒนธรรม
  • สุภาพเรียบร้อย

9.ขั้นตอนการทำรายงาน

  • กำหนดวัตถุประสงค์
  • กำหนดผู้รับทราบ
  • รวบรวมข้อมูล
  • วางโครงร่าง
  • วิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความข้อมูล
  • จัดระเบียบเนื้อหา
  • เรียบเรียงเนื้อหา
  • ตรวจทาน
  • จัดทำรูปเล่ม

10.องค์ประกอบ (โครงสร้าง) ของรายงาน รายงานที่ดี ควรมีองค์ประกอบหรือโครงสร้าง 3 ส่วน คือ

  • ส่วนต้น (ส่วนนำ) องค์ประกอบส่วนต้น  ได้แก่

    • ปก
    • สัญลักษณ์ คำย่อ และ ตัวย่อ (ถ้ามี)
    • คำนำ                                   
    • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร หรือบทคัดย่อ
    • กิตติกรรมประกาศ
    • สารบัญ
    • บัญชี (รายการ) ตาราง (ถ้ามี)
    • บัญชี (รายการ) ภาพประกอบ (ถ้ามี) ได้แก่ แผนภูมิ แผนที่ ภาพประกอบ ภาพถ่าย แผนผัง
  • ส่วนเนื้อหา ส่วนเนื้อหา แบ่งเป็นบท หรือ ตอน ได้แก่

    • ความเบื้องต้น หรือ บทนำ
    • เนื้อความสำคัญ หรือ ผลการทำ การรู้ การเห็น
    • สรุป และ ข้อเสนอแนะ
  • ส่วนท้าย ส่วนท้ายของรายงาน อาจประกอบด้วย

    • บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง
    • ภาคผนวก ได้แก่ ตาราง แผนภูมิ กราฟ แผนที่ ภาพถ่าย ภาพประกอบ เอกสารหลักฐาน คำให้การ ใบเสร็จรับเงิน คำสั่ง เป็นต้น
    • เครื่องมือ เช่น แบบสอบถาม แบบสำรวจ ข้อสอบ
    • ดัชนี

11.การเขียนส่วนต้นของรายงาน

  • คำนำ สั้น กะทัดรัด ได้ใจความ ไม่ยาวไม่สั้นเกินไป วัตถุประสงค์ของคำนำ สะท้อนความสำคัญ ความจำเป็น และลักษณะเฉพาะของรายงาน เพื่อสร้างความสนใจ มีสาระสำคัญดังนี้ :-

    • ชื่อรายงาน
    • วัตถุประสงค์ของรายงาน
    • ขอบข่ายเนื้อหา
    • ประโยชน์ที่จะได้รับ
    • คำอุทิศ
  • กิตติกรรมประกาศ  หรือ ประกาศคุณูปการ (Acknowledgment) ข้อความกล่าวขอบคุณผู้สนับสนุนช่วยเหลือและ ให้ความร่วมมือในการจัดทำรายงาน ระบุว่าขอบคุณใคร เรื่องอะไร อย่ากล่าวละเอียดมากเกินไป

  • สารบัญ ทำหน้าที่บอกส่วนประกอบทั้งหมด คือ ตอน บท และ หัวข้อต่างๆของรายงาน ตั้งแต่คำนำ จนถึงหน้าสุดท้าย  โดยมีเลขหน้ากำกับแต่ละส่วนเรียงตามลำดับ
  • บัญชี (รายการ) ตาราง ( List of Tables ) (ถ้ามี) เป็นรายการที่ระบุชื่อและตำแหน่งหน้าของตารางทั้งหมดในรายงาน รวมทั้งตารางในภาคผนวกด้วย
  • บัญชี (รายการ) ภาพประกอบ (List of Illustrations/Figures) เป็นรายการที่ระบุชื่อและตำแหน่งหน้าของภาพประกอบทั้งหมด ในรายงาน เช่น แผนภูมิ กราฟ แผนผัง แผนที่ ภาพประกอบ และภาพถ่าย เป็นต้น
  • สัญลักษณ์ คำย่อ และตัวย่อ (List of Abbreviations and Symbols) เป็นส่วนอธิบายความหมายของสัญลักษณ์ คำย่อและอักษรย่อที่ปรากฏใช้ในรายงาน ยกเว้นที่รู้กันโดยทั่วไป
  • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ( Executive Summary ) หมายถึง การสรุปภาพรวมของรายงาน ให้ใช้เวลาอ่านน้อยที่สุด แต่สามารถเข้าใจสาระสำคัญทั้งหมดที่นำเสนอไว้ในรายงาน
  • บทคัดย่อ ( Abstract ) เป็นการสรุปเนื้อหาของรายงานการวิจัย อย่างสั้น กะทัดรัด ชัดเจนแต่ได้ภาพรวม และสาระสำคัญ คือผลการวิจัย

12.การเขียนส่วนเนื้อหาของรายงาน เป็นส่วนสำคัญที่สุด

  • หลักการเขียน :~
    • เอกภาพ =  ไม่มีส่วนสร้างความรำคาญ
    • สัมพันธภาพ  =  ไม่สร้างความวกวน
    • สารัตถภาพ    =  ไม่ “น้ำท่วมทุ่ง ผักบุ้งโหรงเหรง”
  • จำแนกเนื้อหารายงาน เป็น 3 ตอน

    • ความเบื้องต้น เพื่อจูงใจให้สนใจใคร่อ่าน ควรนำเสนอประเด็นต่อไปนี้ 1) ความเป็นมาของปัญหาหรือรายงาน (หลักการและ  เหตุผล) 2) ความพยายามครั้งก่อนๆในการแก้ปัญหา (ทบทวน) 3) จุดประสงค์หลักของการดำเนินงานตามรายงานนี้

    • เนื้อความสำคัญ เป็นหัวใจของรายงาน 1) เลือกเฉพาะเนื้อความที่เกี่ยวข้องกับรายงาน 2) จัดลำดับความสำคัญของเนื้อหา 3) ตัดเนื้อหาที่ไม่สำคัญออก 4) เพิ่มสิ่งที่คิดว่าสำคัญลงไป เพื่อ “ความพอเพียง”

    • สรุปและข้อเสนอแนะ
      1) สรุปให้ครอบคลุมความเป็นมา วัตถุประสงค์ วิธีจัดทำ และผลความรู้ ความจริงในรายงาน 2) การเขียนข้อเสนอแนะในรายงาน เนื้อความรายงานต้อง เป็นความจริง เป็นเรื่องที่ถูกต้อง มีการสรุปอย่างสมเหตุสมผล สิ่งที่ขาดไม่ได้ คือ ข้อเสนอแนะ (สารประเภทความคิด) มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการตัดสินใจดำเนินการต่อไป

13.การเขียนส่วนท้ายของรายงาน

  • การเขียนเนื้อหาของรายงานจะต้องมีการอ้างอิง และจัดทำบรรณานุกรม
    • ความหมาย การอ้างอิง      = การระบุแหล่งที่มาของข้อมูล / บรรณานุกรม  = รายการอ้างอิงทั้งหมด
    • ความสำคัญ เป็นจรรยาบรรณ เป็นมารยาท เป็นการเคารพความรู้ความคิดภูมิปัญญาผู้อื่น เป็นการสร้างความน่าเชื่อถือ - ยอมรับ

14.ภาคผนวก. Appendix/ Appendices หมายถึง : รายละเอียดประกอบรายงาน อยู่ต่อจากบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง ความจำเป็น : การเขียนรายงานต้องสั้น กะทัดรัด กระชับ จึงมีความรู้-ข้อมูลซึ่งไม่ใช่ส่วนของเนื้อหารายงานโดยตรง ที่นำเสนอในเนื้อเรื่องไม่ได้ แต่ถ้าได้ทราบข้อมูลส่วนนี้จะทำให้เข้าใจรายงานชัดเจน และ ลึกซึ้ง มากขึ้น

  • ข้อควรคำนึงสำหรับภาคผนวก 1) ไม่ต้องพยายามหาข้อมูลมาเพียงเพื่อจะให้มีภาคผนวก 2) ใช้ดุลยพินิจคัดเลือกตรวจสอบ อย่าให้รายงานใหญ่โตรุ่มร่ามโดยใช่เหตุ 3) อาจแบ่งหมวดหมู่เป็นภาคผนวกย่อย ก. ข. ค.

15.สรุปหลักการจัดทำรายงาน

  • คิดให้ชัด
  • จัดให้เป็นระเบียบ
  • เรียบเรียงด้วยภาษาที่เหมาะสม
  • ตรวจทานอย่างชื่นชม
  • นางกอบกุล ชุติมันต์ ผู้รับผิดชอบโครงการ
  • นางประไพศรี สุทธินวล คณะทำงานโครงการ
0.00 400.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมอบรม แนะนำตัว พร้อมทั้งบอกความคาดหวังในการเข้าร่วมอบรมในครั้งนี้ โดยส่วนใหญ่พบว่า มีความคาดหวังในการเขียนรายงานที่สมบูรณ์ มีเนื้อหาสาระสำคัญ ตรงความความต้องการของแหล่งทุน
  • ผศ.จรูญ ตันสูงเนิน อาจารย์คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ อบรมการจัดทำรายงานโครงการให้กับผู้เข้าร่วมประชุม โดยมีเนื้อหาสาระสำคัญของการจัดทำรายงาน ได้แก่

1.การสื่อสาร (Communication) - การสื่อ = การรับ = ฟัง ~ อ่าน = การส่ง = พูด ~ เขียน - สาร (MESSAGE) คือ ความรู้สึกนึกคิด สาร มี 4 ประเภท รู้  = ความรู้ ข้อเท็จจริง (Knowledge, Fact) / ความ (รู้) สึก  = ความรู้สึก (Sense) อารมณ์ ( Emotion) / นึก  =  --
จินตนาการ (Imagination) / คิด  = ความคิด ทรรศนะ ข้อคิดเห็น (Opinion)

2.การเขียน คือ กระบวนการ  = คิด → เขียน → ตรวจทาน / ส่งสาร = ความรู้สึกนึกคิด ให้เป็นลายลักษณ์อักษร ตามรูปแบบ และวัตถุประสงค์

3.การจัดทำรายงาน

  • รายงาน เป็นรูปแบบการเขียนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ รายงานการประชุม  รายงานประจำปี รายงานการสอบสวน
  • การจัดทำรายงาน ความหมาย “รายงาน  น. คำบอกกล่าวเรื่องราวที่ไปทำ ไปรู้ หรือไปเห็นมา / ก. บอกเรื่องของการงาน”
  • การจัดทำรายงาน  = การจัดทำเอกสารเพื่อบอกเรื่องการงานที่ไดhทำ ได้รู้ หรือได้ไปเห็นมา ได้ทำ =  รายงานการปฏิบัติงาน  รายงานการประชุม รายงานประจำปี / ได้รู้ =  รายงานการศึกษาค้นคว้า สืบสวน สอบสวน รายงานการศึกษา วิจัย สำรวจ / ได้ไปเห็น  =  รายงานการทัศนศึกษา ดูงาน ตรวจงาน

ประเภทของรายงาน

  • รายงานปากเปล่า Oral Reports ในสถานการณ์พิเศษ
  • รายงานลายลักษณ์อักษร Written Reports
  • รายงานลายลักษณ์อักษรและการนำเสนอด้วยวาจาในที่ประชุม

องค์ประกอบของรายงาน ต้อง ครบถ้วน เป็นระเบียบ รูปแบบของรายงาน “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง” สวยงาม สม่ำเสมอ ถูกต้อง สบายตา เหมาะสม พอเหมาะ น่าหยิบ น่าอ่าน สะอาดเรียบร้อย

4.จรรยาบรรณของผู้ทำรายงาน

  • ซื่อสัตย์ สุจริต
  • โปร่งใส ตรวจสอบได้
  • คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม
  • ติดคุณธรรมที่ปลายปากกา

5.คุณลักษณะของรายงานที่ดี

  • องค์ประกอบ คือ สิ่งที่ควรจะมี
  • รูปแบบ        คือ สภาพหรือลักษณะที่ควรจะเป็น
  • เนื้อหา          คือ พลังในการสื่อสาร
  • ภาษา คือ เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสาร

6.เนื้อหาของรายงาน

  • มีเอกภาพ ( Unity ) มีความเป็นกลุ่มก้อนเดียวกัน
  • มีสัมพันธภาพ ( Coherence ) มีความเป็นระบบระเบียบ ต่อเนื่องเป็นเรื่องเดียวกัน
  • มีสารัตถภาพ ( Emphasis ) มีสาระชัดเจนหนักแน่น น่าเชื่อถือ

7.การใช้ภาษาในการเขียนรายงาน ควรใช้ภาษามาตรฐานในการเขียน

  • ภาษาต่ำกว่ามาตรฐาน เช่น ภาษาพูด คำภาษาต่างประเทศ คำหยาบ คำสแลง คำย่อ คำผวน คำตัด คำภาษาถิ่น

8.ลักษณะภาษาที่ดีในการเขียนรายงาน

  • ถูกระดับ
  • ถูกไวยากรณ์
  • กะทัดรัด ประหยัด
  • ชัดเจน
  • ถูกความหมาย
  • ถูกความนิยม-วัฒนธรรม
  • สุภาพเรียบร้อย

9.ขั้นตอนการทำรายงาน

  • กำหนดวัตถุประสงค์
  • กำหนดผู้รับทราบ
  • รวบรวมข้อมูล
  • วางโครงร่าง
  • วิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความข้อมูล
  • จัดระเบียบเนื้อหา
  • เรียบเรียงเนื้อหา
  • ตรวจทาน
  • จัดทำรูปเล่ม

10.องค์ประกอบ (โครงสร้าง) ของรายงาน รายงานที่ดี ควรมีองค์ประกอบหรือโครงสร้าง 3 ส่วน คือ

  • ส่วนต้น (ส่วนนำ) องค์ประกอบส่วนต้น  ได้แก่

    • ปก สัญลักษณ์ คำย่อ และ ตัวย่อ (ถ้ามี)
    • คำนำ
    • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร หรือบทคัดย่อ
    • กิตติกรรมประกาศ
    • สารบัญ
    • บัญชี (รายการ) ตาราง (ถ้ามี)
    • บัญชี (รายการ) ภาพประกอบ (ถ้ามี) ได้แก่ แผนภูมิ แผนที่ ภาพประกอบ ภาพถ่าย แผนผัง
  • ส่วนเนื้อหา ส่วนเนื้อหา แบ่งเป็นบท หรือ ตอน ได้แก่

    • ความเบื้องต้น หรือ บทนำ
    • เนื้อความสำคัญ หรือ ผลการทำ การรู้ การเห็น
    • สรุป และ ข้อเสนอแนะ
  • ส่วนท้าย ส่วนท้ายของรายงาน อาจประกอบด้วย

    • บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง
    • ภาคผนวก ได้แก่ ตาราง แผนภูมิ กราฟ แผนที่ ภาพถ่าย ภาพประกอบ เอกสารหลักฐาน คำให้การ ใบเสร็จรับเงิน คำสั่ง เป็นต้น
    • เครื่องมือ เช่น แบบสอบถาม แบบสำรวจ ข้อสอบ
    • ดัชนี

11.การเขียนส่วนต้นของรายงาน

  • คำนำ สั้น กะทัดรัด ได้ใจความ ไม่ยาวไม่สั้นเกินไป วัตถุประสงค์ของคำนำ สะท้อนความสำคัญ ความจำเป็น และลักษณะเฉพาะของรายงาน เพื่อสร้างความสนใจ มีสาระสำคัญดังนี้ :-

    • ชื่อรายงาน
    • วัตถุประสงค์ของรายงาน
    • ขอบข่ายเนื้อหา
    • ประโยชน์ที่จะได้รับ
    • คำอุทิศ
  • กิตติกรรมประกาศ  หรือ ประกาศคุณูปการ (Acknowledgment) ข้อความกล่าวขอบคุณผู้สนับสนุนช่วยเหลือและ ให้ความร่วมมือในการจัดทำรายงาน ระบุว่าขอบคุณใคร เรื่องอะไร อย่ากล่าวละเอียดมากเกินไป

  • สารบัญ ทำหน้าที่บอกส่วนประกอบทั้งหมด คือ ตอน บท และ หัวข้อต่างๆของรายงาน ตั้งแต่คำนำ จนถึงหน้าสุดท้าย  โดยมีเลขหน้ากำกับแต่ละส่วนเรียงตามลำดับ
  • บัญชี (รายการ) ตาราง ( List of Tables ) (ถ้ามี) เป็นรายการที่ระบุชื่อและตำแหน่งหน้าของตารางทั้งหมดในรายงาน รวมทั้งตารางในภาคผนวกด้วย
  • บัญชี (รายการ) ภาพประกอบ (List of Illustrations/Figures) เป็นรายการที่ระบุชื่อและตำแหน่งหน้าของภาพประกอบทั้งหมด ในรายงาน เช่น แผนภูมิ กราฟ แผนผัง แผนที่ ภาพประกอบ และภาพถ่าย เป็นต้น
  • สัญลักษณ์ คำย่อ และตัวย่อ (List of Abbreviations and Symbols) เป็นส่วนอธิบายความหมายของสัญลักษณ์ คำย่อและอักษรย่อที่ปรากฏใช้ในรายงาน ยกเว้นที่รู้กันโดยทั่วไป
  • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ( Executive Summary ) หมายถึง การสรุปภาพรวมของรายงาน ให้ใช้เวลาอ่านน้อยที่สุด แต่สามารถเข้าใจสาระสำคัญทั้งหมดที่นำเสนอไว้ในรายงาน
  • บทคัดย่อ ( Abstract ) เป็นการสรุปเนื้อหาของรายงานการวิจัย อย่างสั้น กะทัดรัด ชัดเจนแต่ได้ภาพรวม และสาระสำคัญ คือผลการวิจัย

12.การเขียนส่วนเนื้อหาของรายงาน เป็นส่วนสำคัญที่สุด หลักการเขียน :~

  • เอกภาพ =  ไม่มีส่วนสร้างความรำคาญ
  • สัมพันธภาพ  =  ไม่สร้างความวกวน
  • สารัตถภาพ    =  ไม่ “น้ำท่วมทุ่ง ผักบุ้งโหรงเหรง”

จำแนกเนื้อหารายงาน เป็น 3 ตอน

  • ความเบื้องต้น เพื่อจูงใจให้สนใจใคร่อ่าน ควรนำเสนอประเด็นต่อไปนี้ 1) ความเป็นมาของปัญหาหรือรายงาน (หลักการและ  เหตุผล) 2) ความพยายามครั้งก่อนๆในการแก้ปัญหา (ทบทวน) 3) จุดประสงค์หลักของการดำเนินงานตามรายงานนี้
  • เนื้อความสำคัญ เป็นหัวใจของรายงาน
    1) เลือกเฉพาะเนื้อความที่เกี่ยวข้องกับรายงาน
    2) จัดลำดับความสำคัญของเนื้อหา
    3) ตัดเนื้อหาที่ไม่สำคัญออก
    4) เพิ่มสิ่งที่คิดว่าสำคัญลงไป เพื่อ “ความพอเพียง”

  • สรุปและข้อเสนอแนะ

1) สรุปให้ครอบคลุมความเป็นมา วัตถุประสงค์ วิธีจัดทำ และผลความรู้ ความจริงในรายงาน
2) การเขียนข้อเสนอแนะในรายงาน เนื้อความรายงานต้อง เป็นความจริง เป็นเรื่องที่ถูกต้อง มีการสรุปอย่างสมเหตุสมผล สิ่งที่ขาดไม่ได้ คือ ข้อเสนอแนะ (สารประเภทความคิด) มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการตัดสินใจดำเนินการต่อไป

13.การเขียนส่วนท้ายของรายงาน

  • การเขียนเนื้อหาของรายงานจะต้องมีการอ้างอิง และจัดทำบรรณานุกรม
  • ความหมาย การอ้างอิง      = การระบุแหล่งที่มาของข้อมูล / บรรณานุกรม  = รายการอ้างอิงทั้งหมด ความสำคัญ เป็นจรรยาบรรณ เป็นมารยาท เป็นการเคารพความรู้ความคิดภูมิปัญญาผู้อื่น เป็นการสร้างความน่าเชื่อถือ - ยอมรับ 14.ภาคผนวก. Appendix/ Appendices หมายถึง : รายละเอียดประกอบรายงาน อยู่ต่อจากบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง

  • ความจำเป็น : การเขียนรายงานต้องสั้น กะทัดรัด กระชับ จึงมีความรู้-ข้อมูลซึ่งไม่ใช่ส่วนของเนื้อหารายงานโดยตรง ที่นำเสนอในเนื้อเรื่องไม่ได้ แต่ถ้าได้ทราบข้อมูลส่วนนี้จะทำให้เข้าใจรายงานชัดเจน และ ลึกซึ้ง มากขึ้น

ข้อควรคำนึงสำหรับภาคผนวก

1) ไม่ต้องพยายามหาข้อมูลมาเพียงเพื่อจะให้มีภาคผนวก
2) ใช้ดุลยพินิจคัดเลือกตรวจสอบ อย่าให้รายงานใหญ่โตรุ่มร่ามโดยใช่เหตุ
3) อาจแบ่งหมวดหมู่เป็นภาคผนวกย่อย ก. ข. ค.

15.สรุปหลักการจัดทำรายงาน

  • คิดให้ชัด
  • จัดให้เป็นระเบียบ
  • เรียบเรียงด้วยภาษาที่เหมาะสม
  • ตรวจทานอย่างชื่นชม
  • นางกอบกุล ชุติมันต์  หัวหน้าโครงการ
  • นางประไพศรี สุทธินวล เลขานุการ/เอกสาร
  • นางเกษร ขวัญม่วง  การเงิน
  • นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง  พี่เลี้ยง
  • นางสาวอารีย์ คงแจ่ม ทีมงาน
0.00 2,000.00 5 5 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การรายงานผลการดำเนินงานทั้งเอกสารและเอกสารอิเล็คโทรนิคเป็นปัจจุบัน ตลอดจนงานเอกสารทางการเงินได้รับการตรวจติดตามจากพี่เลี้ยงและทีมงาน ถูกต้อง สมบูรณ์
  • สามารถจัดทำรายงานความก้าวหน้าโครงการ งวดที่ 2 รายงานการเงินโครงการ และรายงานการติดตามโครงการ ได้เสร็จสมบูรณ์ พร้อมจัดให้ส่ง สจรส. ม.อ. และปิดโครงการบ้านเหนือสะอาด ชุมชนสดใส ประชาร่วมใจพัฒนา

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมงานวันบ้านเหนือน่าอยู่i

18,500.00 100 ผลผลิต
  • จัดกิจกรรมรายงานผลการดำเนินงานโครงการ มีตัวแทนชุมชนทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 120 คน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ในงานนี้ นายอำเภอ นายเจิญศักดิ์ วงศ์สุวรรณ ให้เกียรติมาเป็นประธานในพิธีปิดและมอบรางวัลให้กับผู้ชนะเลิศการประกวดในกิจกรรมหน้าบ้านน่ามอง จำนวน 6 รางวัล รวมทั้งรางวัลชมเชยอีกหลายรางวัล รางวัลผู้สูงอายุที่จัดบ้านน่าอยู่ดูแลบ้านสะอาด เพื่อเป็นขวัญกำลังใจให้กับผู้สูงอายุ และมอบของที่ระลึกให้กับผู้สนับสนุนต่างๆ โดยของรางวัล ของที่ระลึกที่มอบให้ก็มีความหมายในทางที่ดี เช่น การให้กระติกน้ำแข็ง เป็นรางวัล สื่อว่า "ขอให้อยู่เย็นเป็นสุข" มีการนำหนังสือพิมพ์ กระดาษเหลือใช้มาใช้เป็นกระดาศห่อของขวัญ เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน และชี้ให้เห็นถึงการจัดการขยะที่สามารถทำได้หลายรูปแบบ
  • ในบริเวณงานมีการจัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในรูปแบบต่างๆ ที่ชุมชนดำเนินการ และถ่ายทอดให้คนในชุมชน เยาวชนได้เรียนรู้ด้วย เช่น การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาเอนกประสงค์จากน้ำหมักชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ จากขยะ เช่น หมวกจากกล่องนม น้ำยาปรับผ้านุ่ม กระเป๋าสะพายจากกล่องนม แฟ้มเอกสารจากหลอดกาแฟ เป็นต้น
  • การดำเนินงานโครงการด้านการจัดการขยะของชุมชนบ้านเหนือสามารถสร้างการเรียนรู้ให้กับคนในชุมชน และชุมชนใกล้เคียงที่เน้นความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจในการแก้ปัญหาชุมชนด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ทำให้เทศบาลตำบลบ้านนาผู้รับผิดชอบพื้นที่สนใจจะดำเนินการในพื้นที่อีก 3 ชุมชนที่เหลืออีกด้วย นับเป็นผลลัพธ์จากการดำเนินงานที่ดี ที่สามารถสร้างผลกระทบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในชุมชนใกล้เคียง และเปลี่ยนนโยบายการจัดการขยะของเทศบาลให้เน้นที่การแก้ปัญหาแบบมีส่วนร่วมมากกว่าการแก้ปัญหาด้วยการจัดซื้อเครื่องมือจัดเก็บ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

  • ประชากรในชุมชนบ้านเหนือ ต.นาใต้ อ.บ้านนาเดิม จ.สุราษฎร์ธานี
  • กลุ่มผู้สูงอายุ
  • นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี นายก อบต.
  • อาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี
0.00 0.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กิจกรรมที่จัดในวันนี้ ถือเป็นกิจกรรมสุดท้ายของโครงการ จัดขึ้นเพื่อสรุปผลการดำเนินงานในพื้นที่ให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ โดยมีแกนนำชุมชน คนในชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาคการทำงานเข้าร่วมอย่างหลากหลาย เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ นายธงชัย ว่องกุล นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรีบ้านนา และคณะ นายก อบต. รองนายก อบต. นาใต้ และคณะ คุณครูจากโรงเรียนในพื้นที่ ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลบ้านนา โรงเรียนบ้านนาวิทยาคม มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี รวมทั้งแกนนำชุมชนอย่างผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกเทศบาล สมาชิก อบต. ที่เข้าร่วมกิจกรรมอย่างพร้อมเพรียง แสดงให้เห็นถึงการให้ความสำคัญ และความร่วมมือกับการทำงานภาคประชาชนในพื้นที่
  • ในงานนี้ นายอำเภอ นายเจิญศักดิ์ วงศ์สุวรรณ ให้เกียรติมาเป็นประธานในพิธีปิดและมอบรางวัลให้กับผู้ชนะเลิศการประกวดในกิจกรรมหน้าบ้านน่ามอง จำนวน 6 รางวัล รวมทั้งรางวัลชมเชยอีกหลายรางวัล รางวัลผู้สูงอายุที่จัดบ้านน่าอยู่ดูแลบ้านสะอาด เพื่อเป็นขวัญกำลังใจให้กับผู้สูงอายุ และมอบของที่ระลึกให้กับผู้สนับสนุนต่างๆ โดยของรางวัล ของที่ระลึกที่มอบให้ก็มีความหมายในทางที่ดี เช่น การให้กระติกน้ำแข็ง เป็นรางวัล สื่อว่า "ขอให้อยู่เย็นเป็นสุข" มีการนำหนังสือพิมพ์ กระดาษเหลือใช้มาใช้เป็นกระดาศห่อของขวัญ เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน และชี้ให้เห็นถึงการจัดการขยะที่สามารถทำได้หลายรูปแบบ
  • ในบริเวณงานมีการจัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในรูปแบบต่างๆ ที่ชุมชนดำเนินการ และถ่ายทอดให้คนในชุมชน เยาวชนได้เรียนรู้ด้วย เช่น การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาเอนกประสงค์จากน้ำหมักชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ จากขยะ เช่น หมวกจากกล่องนม น้ำยาปรับผ้านุ่ม กระเป๋าสะพายจากกล่องนม แฟ้มเอกสารจากหลอดกาแฟ เป็นต้น
  • การดำเนินงานโครงการด้านการจัดการขยะของชุมชนบ้านเหนือสามารถสร้างการเรียนรู้ให้กับคนในชุมชน และชุมชนใกล้เคียงที่เน้นความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจในการแก้ปัญหาชุมชนด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ทำให้เทศบาลตำบลบ้านนาผู้รับผิดชอบพื้นที่สนใจจะดำเนินการในพื้นที่อีก 3 ชุมชนที่เหลืออีกด้วย นับเป็นผลลัพธ์จากการดำเนินงานที่ดี ที่สามารถสร้างผลกระทบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในชุมชนใกล้เคียง และเปลี่ยนนโยบายการจัดการขยะของเทศบาลให้เน้นที่การแก้ปัญหาแบบมีส่วนร่วมมากกว่าการแก้ปัญหาด้วยการจัดซื้อเครื่องมือจัดเก็บ
  • นายเจริญศักดิ์ วงศ์สุวรรณ นายอำเภอบ้านนาเดิม
  • นายธงชัย ว่องทรง นายกเทศมนตรีตำบลบ้านนา
  • นางอุดมลักษณ์ ไสยรินทร์ รองนายกเทศมนตรี
  • นายทศพร ขวัญม่วง นายก อบต.บ้านนา
  • นายเมธี ฮ่งภู่ ผอ.รร.อบจ.สฎ.3 (บ้านนา)
  • คณะพยาบาลศาสตร์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 2 คน
  • นางปนัดดา ไชยทอง ผอ.รร.เทศบาลตำบลบ้านนา
  • นายธัญญา ไสยรินทร์ ผอ.รร.บ้านธารอารี
  • นายศุภชัย สินรักษา ครู รร.บ้านนาวิทยาคม
  • ครูจาก กศน.บ้านนาเดิม
  • ประธานชุมชนตลาดบน
  • สมาชิกสภาเทศบาลตำบลบ้านนา
  • ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ้านนา
  • กลุ่มสตรีเทศบาลตำบลบ้านนา
  • ประชากรชุมชนตลาดบน
  • ประชาชนในชุมชนตลาดล่าง
  • ประชาชนในชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง
  • ประชากรในชุมชนบ้านเหนือ ต.นาใต้ อ.บ้านนาเดิม จ.สุราษฎร์ธานี จำนวน 100 ครัวเรือน
18,500.00 20,355.00 100 121 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • นายเจริญศักดิ์ วงศ์สุวรรณ นายอำเภอบ้านนาเดิม ให้เกียรติมาเป็นประธานวันบ้านเหนือน่าอยู่  นายธงชัย ว่องทรง นายกเทศมนตรีตำบลบ้านนา นางอุดมลักษณ์ ไสยรินทร์ รองนายกเทศมนตรี นายทศพร ขวัญม่วง นายก อบต.บ้านนา  นายเมธี ฮ่งภู่ ผอ.รร.อบจ.สฎ.3 (บ้านนา) คณะพยาบาลศาสตร์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี  นางปนัดดา ไชยทอง ผอ.รร.เทศบาลตำบลบ้านนา นายธัญญา ไสยรินทร์ ผอ.รร.บ้านธารอารี นายศุภชัย สินรักษา ครู รร.บ้านนาวิทยาคม ครูจาก กศน.บ้านนาเดิม ประธานชุมชนตลาดบน สมาชิกสภาเทศบาลตำบลบ้านนา ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ้านนา กลุ่มสตรีเทศบาลตำบลบ้านนา ประชากรชุมชนตลาดบน ชุมชนตลาดล่าง ชุมชนบ้านน้ำเกลี้ยง ให้เกียรติมาร่วมกิจกรรม และเป้าหมายประชากรในชุมชนบ้านเหนือ ต.นาใต้ อ.บ้านนาเดิม จ.สุราษฎร์ธานี จำนวน 100 ครัวเรือน ตามกำหนดการดังนี้
  • ในงานมีการจัดนิทรรศการ เผยแพร่สิ่งประดิษฐ์ การแปรรูปจากขยะโดยได้นำผลงานจากจากแปรรูปขยะ ตั้งแต่เริ่มโครงการมาแสดง ได้แก่  การทำหมวกจากถุงน้ำยา การเพ้นขวด การทำดอกไม้จากหลอดกาแฟ การทำดอกไม้จากช้อนพลาสติก การทำตะกร้าจากสายพลาสติก การทำหมวกจากทางมะพร้าว การทำกระเป๋าจากขวดน้ำพลาสติก การทำน้ำหมัก การทำปุ๋ย การทำน้ำยาล้างจาน

  • มีการประกาศผล และมอบรางวัลให้ผู้ชนะการประกวด โดย นายเจริญศักดิ์ วงศ์สุวรรณ นายอำเภอบ้านนาเดิม เป็นผู้มอบ โดยมีผู้ได้รับรางวัล ดังนี้

1.บ้านที่ชนะการประกวดหน้าบ้านน่ามอง จำนวน 6 หลัง ได้แก่

  • นายเข็มเพชร  มีครุฑ  เลขที่ 55 หมู่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มสีเหลือง หัวหน้ากลุ่มสีนางจุฑาทิพย์ ฟุ้งตาปี
  • นางอารีย์  มุสิกสาร  เลขที่ 20/1 หมู่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มสีเขียว หัวหน่ากลุ่มนางวรรณา ทองสีเขียว
  • พ.ต.บำรุง ชูชาติ  เลขที่ 15/2 หมู่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มชมพู  หัวหน้ากลุ่มนางปรีปา สละ
  • นางเรวดี ศรีฤทธิ  เลขที่ 35/4 หมู่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มเขียว  หัวหน้ากลุ่มนางจิรา ปลอดสกุล
  • นางอาภรณ์ ธีรสิงห์ เลขที่ 54/2 หมู่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มเหลือง  หัวหน้ากลุ่มนางจุฑาทิพย์ ฟุ้งตาปี
  • นางจิรา ปลอดสกุล เลขที่ 30 หมู่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มเขียว  หัวหน้ากลุ่มนางจิรา ปลอดสกุล

2.บ้านผู้สูงอายุที่เป็นตัวอย่างในการดูแลบ้านให้สะอาด จำนวน 2 หลัง

  • นางจรูญ พิกุลทอง  เลขที่ 51 หมู่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มส้ม  หัวหน้ากลุ่ม นางไมตรี ชูทุ่งยอ
  • นางละออง อินทร์แทน  เลขที่ 17 หมู่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มชมพู  หัวหน้ากลุ่มนางปรีปา สละ

3.บ้านที่ได้รับเกียรติบัตรคนรักษาความสะอาด ซึ่งเป็นบ้านที่รักษาความสะอาดสม่ำเสมอ และเป็นแบบอย่างที่ดีในชุมชนได้ โดยคนในชุมชนเอาเป็นแบบอย่างได้ จำนวน 3 หลัง ได้แก่

  • นายจรัล พัฒน์จร เลขที่ 47/6 หมู่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มสีเหลือง
  • นางสาวพรเพ็ญ พัฒนสิงห์  เลขที่ 39 หมู่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มสีม่วง
  • นางสาวพูนสิน  ชุติมันต์  เลขที่ 88 หมู่ 3 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มสีเหลือง

4.ผู้ให้การช่วยเหลือ สนับสนุนโครงการ

  • นายจารุวัฒน์ ทองแก้ว ผู็ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

5.มอบป้ายบ้าน จำนวน 100 หลังคาเรือน โดย นายกเทศนตรีตำบลบ้านนา และแขกผู้มีเกียรติร่วมมอบ

6.ประชาสัมพันธ์และแจกสติกเกอร์ ลด ละ เลิก เหล้าและบุหรี่


สรุปผลการดำเนินงาน

  • คนในชุมชนทราบผลการดำเนินงานโครงการและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน
  • ได้พื้นที่เรียนรู้ เผยแพร่ข่าวสาร และรูปแบบ วิธีการในการจัดการปัญหาขยะของชุมชนเพื่อให้คนในชุมชนนำไปเป็นแบบอย่าง
  • ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องพิษภัยของเหล้า บุหรี่  สามารถลด ละ เลิก เหล้า บุหรี่ และมีพื้นที่ปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
ชักแถว ชักธง
  • แบ่งคนในชุมชน ออกเป็น 10 กลุ่ม กลุ่มละ 10 ครัวเรือน แต่ละกลุ่มจะมีหัวหน้าสี แล้วใช้ธงเป็นสัญลักษณ์ให้ทราบถึงสมาชิกในกลุ่มของตัวเอง หัวหน้ากลุ่มธงก็จะผืนใหญ่กว่าสมาชิก
  • มีการประกวด แข่งขันหน้าบ้านน่ามอง กระตุ้นให้เกิดการตื่นตัว แข่งขักันระหว่างกลุ่มสี
  • มีการติดตาม ประเมินผลกันเองระหว่างกลุ่มสี ทำให้เกิดการตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา ช่วยกันดูแลบ้านเรือนของตนเอง สมาชิกในกลุ่มให้สะอาด เรียบร้อยอยู่ตลอดเวลา
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
การแบ่งโซนการดูปัญหาขยะด้วยธงสี
  • การนำธงสีมาแสดงการรวมกลุ่มบ้าน และมีการมอบหมายภาระหน้าที่ให้คนในกลุ่มได้ทำหน้าที่ดูแลติดตามกันเอง แบบเพื่อดูแลเพื่อน เป็นการเสริมแรงการทำงานซึ่งกันและกัน
  • ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา มีการกระตุ้น และติดตามกันเองในการทำงาน
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางกอบกุล ชุติมันต์ 88/3 หมู่ที่ 3 ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดิม จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  • ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
  • การวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ
  • การตัดสินใจ และการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น

 

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ศาลาเกษตร 200 ปี

  • เป็นสถานที่รวมตัวในการทำกิจกรรมของคนในชุมชน
  • เป็นสถานที่ปลอดบุหรี่

บ้านนางกอบกุล ชุติมันต์

  • เป็นสถานที่รวมตัว รวมทีมของคณะทำงาน แกนนำชุมชนในการพบปะพูดคุย สังสรรค์ นำเรื่องราว สถานการณ์ในชุมชนมาพูดคุย ปรึกษาหารือกัน

บ้านแกนนำชุมชนที่ได้รับรางวัลจากการประกวดหน้าบ้านน่ามอง

  • มีการจัดการขยะในบ้าน รอบบ้านให้สะอาดอยู่เสมอ มีการแยกขยะรีไซเคิลเพื่อจำหน่าย

บ้านผู้สูงอายุที่ได้รับการยกย่องในการดูแลความสะอาด

  • มีการจัดบริเวณบ้านให้สะอาด น่าอยู่

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

 

 

 

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น
  • โครงการสามารถจัดกิจกรรมตามแผนการแฏิบัติได้ครบทุกกิจกรรม มีผลการดำเนินงานที่สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับชุมชนอย่างชัดเจน คนในชุมชนเกิดการตื่นตัว ร่วมแรงร่วมใจกันดูแลบ้านเรือนของตนเองให้สะอาด น่าอยู่
ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • เป็นโครงการที่เห็นกระบวนการทำงานอย่างสร้างสรรค์ที่สามารถสร้างนวตกรรมในการดูแลชุมชนเรื่องการจัดการขยะ ทำให้คนในชุมชน และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เห็นถึงความสำคัญของการแก้ไขปัญหาขยะที่ต้นเหตุ แทนการแก้ที่ปลายเหตุด้วยการซื้อถังขยะ ซื้อรถเก็บขยะ

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong