แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง ”

ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุกัญญา ขุนทอง

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง

ที่อยู่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740021 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กรกฎาคม 2020 ถึง 10 ตุลาคม 2021


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63001740021 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กรกฎาคม 2020 - 10 ตุลาคม 2021 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 117,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์สูงวัยของประเทศไทยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และคาดว่าประเทศไทยจะเป็นสังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ (Complete Aged Society) ในปี 2564 ประเทศไทยมีประชากรสูงอายุมากกว่าประชากรวัยเด็ก คาดว่าจะมีประชากรเข้าสู่วัยสูงวัย60 ปีขึ้นไปปีละประมาณ 1 ล้านคน และที่น่าเป็นห่วงคือ ประชากรไทยก่อนวัยสูงอายุ กว่าร้อยละ 30% ยังคงไม่ได้มีการเตรียมพร้อมเพื่อเป็นสูงวัยที่มีคุณภาพในอนาคต โดยเฉพาะในมิติด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางรายได้ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม

โครงสร้างประชากรไทยกำลังเข้าสู่สังคมสูงวัย ส่งผลกระทบ ในหลายด้าน โดยจากข้อมูลวิชาการระบุว่าประเทศไทยยังมีช่องว่างด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรและการพัฒนาระบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัย เช่น ข้อมูลสุขภาพ พบว่าสูงวัยส่วนใหญ่ร้อยละ 95 มีโรคประจำตัวแต่ยังคงสามารถดำเนินชีวิตประวันได้ตามปกติ โดยส่วนใหญ่ ยังคงเป็นโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน และสูงวัยวัยปลายมีอัตรามีโรคประจำตัวสูงขึ้น ด้านเศรษฐกิจ สูงวัยถึงร้อยละ 34.3 มีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยาก ทั้งนี้มีคนไทยเพียง 15 ล้านคนที่อยู่ในระบบการออมเพื่อเป็นหลักประกันรายได้ยามเกษียณ เมื่อเทียบกับประชากร วัยทำงานมากกว่า 40 ล้านคนด้านสังคม พบว่าสูงวัยที่ต้องอยู่เพียงลำพังคนเดียว หรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรสมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมถึงคนรุ่นใหม่ยังมีทัศนคติเชิงลบต่อวัยสูงอายุ ฯลฯ สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวมีสาเหตุจากหลายปัจจัย รวมถึงการที่ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัย อย่างรวดเร็ว และมีเวลาเตรียมการน้อยกว่าประเทศพัฒนาแล้วที่เข้าสู่สังคมสูงวัยส่งผลให้ประเทศไทยต้องเผชิญผลกระทบต่ำงๆ จากสังคมสูงวัยหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ อย่างจริงจังและ มีประสิทธิภาพ

สถานการณ์ จังหวัดตรังประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไปมีจำนวน 85,828 คิดเป็นร้อยละ 16.63 และประชากรอายุ50-60 ปีจำนวนมากถึง 72,380 คน และภายในปี 2572 จะมีประชากรกลุ่มนี้กลายเป็นสูงวัยมากกว่าร้อยละ30ของประชากรจังหวัดตรังพบว่า สูงวัยส่วนใหญ่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่น (กลุ่มติดสังคม) คิดเป็นร้อยละ 96.29 ของจำนวนสูงวัยทั้งหมดอีกประมาณร้อยละ4 เป็นสูงวัยที่ต้องพึ่งผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (กลุ่มติดบ้าน) ร้อยละ 2.87 และติดเตียง ร้อยละ 84 ด้านสุขภาพ (โรคไม่ติดต่อ) ประชากรกลุ่มอายุ 50-59 ปี ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 22.22 และโรคเบาหวาน ร้อยละ 10.30 ประชากรกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 48 และโรคเบาหวาน ร้อยละ 17.24 การเตรียมพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัยจึงมีความสำคัญในอนาคต

ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรังจังหวัดตรังมีพื้นที่ 14.8ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 9,230 ไร่ มี 6 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด 7,381คน แยกเป็นชาย 3,520 คน , หญิง 3,861 คนมี 3,549 ครัวเรือน , สถานศึกษาโรงเรียนระดับประถมศึกษาจำนวน3แห่ง,โรงเรียนอาชีวศึกษา 1แห่งศูนย์อินเตอร์เน็ตชุมชนตำบลนาตาล่วง 1 แห่ง ,ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1ศูนย์,สถานที่ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา (วัด) จำนวน 3แห่ง,ชมรมสูงวัย 1 ชมรม,ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป 1 ศูนย์,โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 1 แห่ง,ศูนย์กู้ชีพตำบลนาตาล่วง 1 แห่ง, ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 1 แห่ง และมีธรรมนูญสุขภาพตำบลนาตาล่วงเตรียมรองรับสังคมสูงวัย,หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ประกอบด้วย เทศบาลตำบลนาตาล่วงประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และอาชีพรองคือรับจ้างตำบลนาตาล่วงมีสูงวัย อายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน1,134คน/อายุ 40-59 จำนวน 1,239 คน , มีคนพิการจำนวน177 คน

ตำบลนาตาล่วง เป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็ง การทำงานแบบมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน ประกอบกับ มีแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์ มีแหล่งเรียนรู้ทางประวิติศาสตร์ โบราณคดี มีแม่น้ำตรังไหลผ่าน มีโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งในปัจจุบันมีความเจริญมากขึ้น และเปลี่ยนแปลงวิถีความเป็นอยู่ ส่งผลให้การใช้ชีวิตเปลี่ยนไป และจะมีปัญหาตามมาเรื่อยๆ ในหลายๆ ด้าน เช่น ปัญหาด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ชมรมสูงวัยตำบลนาตาล่วงจึงมุ่งเน้นที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตสูงวัยใน 4 ด้าน ๆ ประกอบด้วย ด้านสุขภาพมีการตรวจสุขภาพประจำปีให้แก่สูงวัย รวมทั้งสูงวัยที่ติดบ้าน ติดเตียง เพื่อให้มีสุขภาพดี ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ให้มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากสูงวัยส่วนมากยังมีโรคประจำตัว และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยจนไม่สามารถ ดูแลตนเองได้ หรือต้องมีผู้ดูแล จนกลายเป็นสูงวัยที่ติดบ้าน และอาจจะเป็นสูงวัยที่ติดเตียงได้ในโอกาสต่อไป จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นสูงวัยที่มีคุณภาพ บริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สามารถลดการเกิดโรคได้ โดยเฉพาะโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคอื่น ๆ
ด้านสังคมให้สูงวัยมีการรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมไม่อยู่โดดเดี่ยว อันเป็นสาเหตุให้เกิดการเจ็บป่วย และซึมเศร้า ได้รับการยอมรับจากสังคมเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี สูงวัยต้องการได้รับการคุ้มครองด้านสิทธิที่พึงได้รับ และต้องมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมกับชุมชน ในการพัฒนาด้านต่างๆ และที่สำคัญสูงวัยต้องมีผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด
ด้านเศรษฐกิจ มีอาชีพเสริม เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ สร้างกลไกลการออม เนื่องจากรายได้ไม่พอกับรายจ่าย ด้านเศรษฐกิจ เช่น การออมเมื่อเข้าสู่วัยสูงวัยมีรายได้ไม่เพียงพอเนื่องจากไม่ได้เตรียมตัวในการเก็บออมเงินไว้ใช้ยามชราต้องทำงานหาเลี้ยงครอบครัวถูกทอดทิ้งเลี้ยงดูลูกหลานซึ่งเป็นภาระที่ต้องรับผิดชอบ เช่น การส่งเสริมการออม การประกอบอาชีพเสริม ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้คุณภาพชีวิตของสูงวัยดีขึ้น สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างชุมชนน่าอยู่ เช่น การซ่อมแซมบ้าน/ปรับสภาพแวดล้อมในบ้านให้สูงอายุ ตลอดจนการบริการสาธารณะ เพื่อให้สูงวัย มีที่อยู่ที่เหมาะสม และมั่นคง เนื่องจากบ้านเรือนที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมเช่นความแข็งแรงของบ้านเรือนห้องน้าบริเวณบ้านมีความเสี่ยงต่อการใช้ชีวิตในประจำวันของสูงวัย นอกจากนี้ยังป้องกันไม่ให้ กลุ่มติดสังคม เป็นกลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดบ้าน ไม่ให้เป็นกลุ่มติดเตียงจากการสำรวจพบว่าประชาชนมีปัญหาด้านสุขภาพโดยเฉพาะกลุ่มสูงวัยและวัยทำงานพบมีโรคประจำตัวเช่นเบาหวานความดันโรคหลอดเลือดหัวใจฯลฯมีอัตราการเป็นผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มขึ้นทุกปีปัจจุบันมีผู้ป่วยติดเตียงจำนวน 18 คนผู้ป่วยติดบ้านจำนวน 59 คนสาเหตุจากการไม่ดูแลสุขภาพเช่นการออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอการรับประทานอาหารประเภทหวานมันเค็มและอาหารประเภทรสจัดการบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์ต่อสุขภาพเช่น ดื่มชาเย็น ในปริมาณมากต่อวัน
ในด้านสุขภาพ พบว่า สูงวัยส่วนมากยังมีโรคประจำตัว และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยจนไม่สามารถ ดูแลตนเองได้ หรือต้องมีผู้ดูแล จนกลายเป็นสูงวัยที่ติดบ้าน และอาจจะเป็นสูงวัยที่ติดเตียงได้ในโอกาสต่อไป จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมไทย จะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นสูงวัยที่มีคุณภาพ บริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ ลดหวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สามารถลดการเกิดโรคได้ โดยเฉพาะโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคอื่น ๆ การรักษาความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย เป็นปัจจัยของเศรษฐกิจที่ดีและสังคมที่มั่นคง เพราะร่างกายที่แข็งแรงนั้น โดยปกติจะอำนวยผลให้สุขภาพจิตใจสมบูรณ์และเมื่อสุขภาพสมบูรณ์ดี พร้อมทั้งร่างกาย และจิตใจแล้ว ย่อมมีกำลังทำประโยชน์สร้างสรรค์เศรษฐกิจ และสังคมของบ้านเมืองได้เต็มที่ ทั้งไม่เป็นภาระแก่สังคมด้วย
ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง เป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็ง การทำงานแบบมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน ประกอบกับ มีแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์ มีแหล่งเรียนรู้ทางประวิติศาสตร์ โบราณคดี มีแม่น้ำตรังไหลผ่าน มีโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งในปัจจุบันมีความเจริญมากขึ้น และเปลี่ยนแปลงวิถีความเป็นอยู่ ส่งผลให้การใช้ชีวิตเปลี่ยนไป และจะมีปัญหาตามมาเรื่อยๆ ในหลายๆ ด้าน เช่น ปัญหาด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม โครงสร้างพื้นฐาน และด้านสิ่งแวดล้อม ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ระดับพื้นที่ ตำบล หมู่บ้าน ชุมชน โดยเฉพาะกลุ่ม/ชมรมสูงวัยที่มีความเข้มแข็ง การขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบลนาตาล่วงมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตสูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 40ปีขึ้นไปเป็นหลักดำเนินการร่วมกันในหลายภาคส่วนทั้งหน่วยงานภาครัฐ เช่น เทศบาลตำบลนาตาล่วง, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาตาล่วงและภาคประชาชนได้แก่กลุ่มสตรี , กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง , ชมรมสูงวัย ดังนั้น ชมรมสูงวัยตำบลนาตาล่วง จึงได้จัดทำโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบลนาตาล่วงเพื่อเป็นกระบวนการสร้างการเรียนรู้ให้ผู้นำและประชาชนในชุมชนกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่อายุ 40ปีขึ้นไปได้รับรู้ถึงสถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลงและรับรู้ถึงการเข้าสู่สังคมสูงวัยสภาพปัญหาด้านต่างๆได้แก่ด้านสุขภาพด้านสังคมด้านสภาพแวดล้อมและด้านเศรษฐกิจว่าจะมีการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมผู้วัยอย่างไรให้มีความสุขไม่มีโรคภัยมีเพื่อนบ้านที่ดีมีลูกหลานคอยดูแลมีเงินเก็บออมไว้จ่ายยามชราบ้านเรือนหรือที่อยู่อาศัยห้องน้าที่เหมาะสมปลอดภัยกับการดำรงชีพของสูงวัยเพราะฉะนั้นทุกฝ่ายต้องมาร่วมขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง ร่วมกันขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพในการ “ร่วมคิด ร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำ ร่วมแก้ไขปรับปรุง ร่วมประโยชน์” ถือปฏิบัติเพื่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีต่อตนเอง ครอบครัว ชุนชนและสังคม อันจะนำไปสู่การพัฒนาและขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนากลไกการทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  2. 2.เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  2. กิจกรรมที่ 2 สำรวจ/รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 2 ครั้ง
  3. กิจกรรมที่ 1เพิ่มศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งให้คณะทำงานในการขับเคลื่อนรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง
  4. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ)
  5. กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ
  6. กิจกรรมที่ 6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ
  7. กิจกรรมที่ 5 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์
  8. บัญชีธนาคาร
  9. เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ณ ภูผายอดรีสอร์ท อ.ห้วยยอด จ.ตรัง
  10. ประชุมคณะทำงานครั้งที่1
  11. กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 1
  12. กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สำรวจ/รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 1
  13. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม
  14. กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สำรวจ/รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 2
  15. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org
  16. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
  17. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 1 (เดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม)
  18. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3
  19. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1 เตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  20. ถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  21. กิจกรรมที่ 3.1ส่งเสริมพัฒนาให้ความรู้เตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง (กลุ่มที่1)
  22. กิจกรรมที่ 3.1ส่งเสริมพัฒนาให้ความรู้เตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง (กลุ่มที่2)
  23. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4
  24. กิจกรรมที่ 3.2เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ :นาตาล่วงอ่อนหวาน
  25. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 2 (เดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม)
  26. เวทีถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพ จ.ตรัง
  27. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5
  28. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 3 (เดือนเมษายน พฤษภาคม)
  29. กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 2
  30. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6
  31. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7
  32. กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 3
  33. กิจกรรมที่ 5 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์
  34. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ
  35. กิจกรรมที่ 6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1
  36. กิจกรรมที่ 6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2
  37. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานครั้งที่ 2
  38. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ผู้มีอายุตั้งแต่60 ปีขึ้นไป 20
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ผู้มีอายุ 40-59 ปี 80

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ณ ภูผายอดรีสอร์ท อ.ห้วยยอด จ.ตรัง

วันที่ 30 กรกฎาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการเตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัย จำนวน 3 คน ประกอบไปด้วย ประธานโครงการฯ  เลขานุการและเหรัญิก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานในแต่ละพื้นที่ได้แลกเปลี่ยน  เรียนรู้ของแต่ละโครงการว่าจะมีทิศทางการดำเนินงานอย่างไรและทำความเข้าใจถึงจุดประสงค์ของโครงการที่มีความเน้นยำ้ถึงกิจกรรมและกลุ่มเป้าหมายให้เกิดความถูกต้อง ชัดเจนว่าเป็นการเตรียมเข้าสู่การสูงวัย

 

3 0

2. ประชุมคณะทำงานครั้งที่1

วันที่ 5 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมในครั้งที่ 1     - ประสานประธาน อสม.ของแต่ละหมู่     - ประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการพร้อมเอกสารรายละเอียดของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีประธานกลุ่มอสม.จำนวน  6 คนจาก 6 หมู่บ้านของตำบลนาตาล่วงและผู้รับผิดชอบโครงการ ตัวแทนจาก สสส ร่วมประชุมชี้แจงกับประธาน อสม.ให้ทราบถึงที่มาของการทำโครงการการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมสู่วัยและรายละเอียดของโครงการ เพื่อเป็นแกนนำและมีความรู้ความเข้าใจในตัวของโครงการและขอความคิดเห็นในส่วนของการร่วมแสดงความคิดเห็นในการคัดสรรคณะทำงานของโครงการเพื่อให้โครงการสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ซึ่งในที่ประชุมได้เสนอความคิดเห็นว่า ในส่วนของคณะทำงานควรมีผู้นำชุมชน เช่นกำนัน  ผู้ใหญ่บ้านหรือผุ้นำท้องถิ่น จึงมีการนำเสนอคณะทำงานของทีม  โดยมีการแต่งตั้งคณะทำงานโดยนายกเทศมนตรีตำบลนาตาล่วง จะช่วยให้การทำงานง่ายขึ้น   ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคือประธานอสม. มีความรู้ ความเข้าใจในความหมายของการเตรียมตัวเข้าสุ่สังคม สุงวัยและเกิดแกนนำหรือเครือข่ายของคณะทำงาน ที่มาจากหลายฝ่ายที่มีความหลากหลาย

 

0 0

3. กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สำรวจ/รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 1

วันที่ 13 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมชี้แจงทำความเข้าใจในรายละเอียดของแบบสำรวจ เช่น กลุ่มเป้าหมาย ค่าตอบแทน  กับคณะทำงานที่เป็นกลุ่มแกนนำประธานอสม.  จำนวน 11 คนและกลุ่มเป้าหมายจำนวน 72 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานการหากลุ่มเป้าหมายของแกนนำ  จำนวน 100 คน แยกเป็นกลุ่มอายุ 45-59 ปี จำนวน 80 คน กลุ่ม 60 ปี จำนวน 20 คน  จาก 6 หมู่บ้านที่แกนนำคัดเลือกเพื่อมาทำความเข้าใจในการทำแบบสำรวจ  มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 72 คนและแกนนำดำเนินการเก็บแบบสำรวจจำนวน 110 ชุดเพื่อสรุปข้อมุล

 

0 0

4. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม

วันที่ 15 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ทำป้ายสติีกเกอร์ติดฟิวเจอร์บอร์ด เขตปลอดบุหรี่และเครี่องดื่มแอลกอฮออล์ ขนาด40 x 80 ซม. จำนวน1 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นป้ายที่จัดแสดงถึงพื้นที่ให้ปลอดการสูบบุหรี่หรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล โโดยติดตั้งทุกครั้งที่มีการประชุมของโครงการ สสส.

 

0 0

5. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมแกนนำคณะกรรมการ จำนวน 11 คน  ประกอบไปด้วยคณะทำงานที่มาจากประธาน อสม. ผู้นำชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การประชุมในรอบนี้มีกลุ่มคณะกรรมการที่มาจาก ตัวแทนผู้นำอสม. อสม. รายงานผลของการทำงานแกนนำอสม.ที่ทำหน้าที่ประสานงานในส่วนของการเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเพื่อเก็บข้อมูลใน 4 มิติของกลุ่มเป้าหมายในโครงการที่ประกอบด้วย กลุ่มอายุ 45-59 ปี จำนวน 80 คน และกลุ่ม 60 ปี จำนวน 20 คน โดยแบบสำรวจ ซึ่งการเก็บข้อมูลดังกล่าวมีปัญหาและอุปสรรคของสถานการณ์นำ้ท่วม รวมถึงกลุ่มเป็าหมายที่ไม่เป็นไปตามจุดประสงค์ของโครงการ  ทำให้การรวบรวมข้อมูลยังไม่ครบถ้วน  การประชุมครั้งนี้คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการหากลุ่มเป้าหมายและสามารถไปให้ความรู้ที่ถุกต้องกับกลุ่มเป้าหมายได้ดีขึ้น

 

20 0

6. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการประชุมร่วมของคณะทำงานที่มีส่วนของการรับผิดชอบโดยตรง จำนวน 3 คน คือ ประธานโครงการ  เหรัญญิก และเลขานุการ ในทุกพื้นที่ที่ได้รับเงินสนับสนุนโครงการฯ เพื่อแลเปลียนเรียนรู้การทำรายงานส1. ง1. ผ่านระบบ www.happynetwork.org

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานรู้จักระบบ วิธีการของการรายงานทางด้านการเงินของโครงการในระดับหนึ่ง เช่น เข้าระบบอย่างไร รายงานส่วนใดบ้าง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในละอย่างแยก จำแนกเป็นค่าใช้จ่ายประเภทใด

 

3 0

7. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 1 (เดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม)

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2020

กิจกรรมที่ทำ

หลักฐานการจ่ายเงินค่าอินเตอร์เน็ตประจำเดือน จำนวน 3 เดือน ตั้งแต่เดือน สิงหาคมถึงเดือนตุลาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้รับประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยี่ในการสื่อสาร  รับข้อมูล  ส่งข้อมูล  รับข่าวสารต่างๆได้อย่างรวดเร็วรวมถึงการทำเอกสารต่างๆที่เกิดขึ้นในโครงการอีกด้วย

 

1 0

8. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

วันที่ 13 ธันวาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมคณะกรรมการและคณะทำงานครั้งที่ 3 ซึงเป็นการประชุมที่มีฝ่ายปกครองเช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน รวมถึงท้องถิ่นเข้าร่วมประชุมเป็นครั้งแรก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การประชุมเป็นการชี้แจงที่มาและรายละเอียดของโครงการเตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วงที่ดำเนินการโดยชมรมผู้สูงอายุ ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินโครงการเกิดความสำเร็จและมีความยั่งยืน จะต้องมีการร่วมมือและรับรู้จากทุกๆฝ่าย มีวิทยากรจากท้องถิ่นและจากทีมสมัชชาตรังร่วมให้ความรู้ เรื่องของความหมายของการเตรียมตัวรองรับสูงวัย วิธีการดำเนินโครงการ ผลที่ได้รับจากโครงการ ซึ่งผลที่เกิดขึ้นคือได้รับการตอบรับจากทุกฝ่าย ร่วมถึงท้องถิ่นที่ตอบรับเพื่อประสานต่อให้กิดความยั่งยืนต่อไป

 

0 0

9. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1 เตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 16 ธันวาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนคณะทำงาน 3 คน ประชุมร่วมกับNode Flagship ตรัง ณ.ห้อง116 วิทยาลัยพยาาลบรมราชชนนี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมแลกเปลี่ยนความก้าวหน้าของโครงการ ซึ่งได้สร้างโอกาสในการเรียนรู้การทำงานของ โครงการอื่นๆที่เป็นประโยชน์ในการทำงาน ร่วมถึงปัญหาอุปสรรคที่เกิดชึ้น

 

3 0

10. กิจกรรมที่ 3.1ส่งเสริมพัฒนาให้ความรู้เตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง (กลุ่มที่1)

วันที่ 6 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมพัฒนาให้ความรู้เตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง อบรมให้ความรู้การเตรียมตัวสูงวัย 4 มิติ เกี่ยวกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายที่เราได้รับความรู้ทั้งด้าน 4 มิติว่ามีอะไรบ้าง และสามารถมาปรับใช้ได้อย่างไร

 

50 0

11. กิจกรรมที่ 3.1ส่งเสริมพัฒนาให้ความรู้เตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง (กลุ่มที่2)

วันที่ 7 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการให้ความรู้เรื่องการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมสูงวัยใน 4 มิติ แก่กลุ่มเป้าหมายกลุ่มที่ 2 จำนวน 50 คน จากหมู่ที 5และหมู่ที่ 6

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้ความรู้และเข้าใจว่าจะต้องเตรียมตัวเองอย่างไรใน 4 มิติ และเตรียมเมื่อไร เพื่อเข้าสู่สูงวัยแล้วจะได้มีความพร้อมทั้ง 4มิติและเป็นสูงวัยที่มีความสุข

 

50 0

12. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4

วันที่ 14 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเรื่องการดำเนินกิจกรรมต่อไปของโครงการ โดยมีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุนาตาล่วง  คณะทำงานโครงการเตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัย ท้องถิ่นและผู้นำชุมชนเข้าร่วมการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานรับทราบรายละเอียดของกิจกรรมที่จะดำเนินต่อ คือ กิจกรรมการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เรื่องการเตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติและกิจกรรมนาตาล่วงอ่อนหวาน ซึ่งคณะกรรมการทุกท่านได้วางแผนงานและแบ่งงานเพื่อดำเนินการตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับอย่างเต็มศักยภาพ

 

30 0

13. กิจกรรมที่ 3.2เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ :นาตาล่วงอ่อนหวาน

วันที่ 21 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมคณะทำงาน  แกนนำชุมชน แกนนำอสม. เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลนาตาล่วงและสมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเขต 2 นายบุญโชติ  ฟุกล่อย เพื่อแบ่งงานของการทำกิจกรรมนาตาลวงอ่อนหวาน ในส่วนของลงความเห็นวันที่ดำเนินกิจกรรม หน้าที่ความรับผิดชอบ เช่น การติดต่อวิทยากรและร้านที่เข้าร่วมกิจกรรมนาตาล่วงอ่อนหวานที่มาออกบูท การจัดสถานที่ การจัดอาหารสำหรับผู้ร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายครบตามที่วางไว้ที่จำนวน 60 คน คณะทำงาน วิทยากรแกนนำชุมชนจำนวน 16 คน ซึ่งผลที่ตามมาเป้นผลลัพธ์ที่ได้จากการพูดคุยร้านกาแฟที่เข้าร่วมกิจกรรมก็พบว่า เมื่อมี่การแนะนำเรื่องของรสชาติก็ได้รับการตอบรับ โดยผู้ซื้อเลือกทานหวานลดลงจากเดิมและคิดว่าลดลงเรื่อยๆในระยะต่อไป

 

0 0

14. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 2 (เดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม)

วันที่ 29 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าของโครงการผ่านระบบออนไลน์  (เดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าของโครงการผ่านระบบออนไลน์  (เดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม)

 

1 0

15. เวทีถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพ จ.ตรัง

วันที่ 31 มีนาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

อบรมถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ กับโจทย์ "วาดฝันปั้นอนาคต ความสุขของผู้สูงอายุ ปี พ.ศ. 2574" โดยกลุ่ม 4 กลุ่ม 4 มิติ เพื่อช่วยคิดถึงอนาคตความสุขคนตรังในมิติต่าง ๆ อีก 10 ปีควรจะต้องมีอะไรบ้าง ทั้งมิติด้านสุขภาพ มิติด้านสังคม มิติด้านสภาพแวดล้อม และมิติด้านเศรษฐกิจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ท่านเข้าร่วมกระบวนการเวทีถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ร่วมกับตัวแทนอีก 11 พื้นที่ พร้อมด้วยผู้แทนหน่วยงานภาคีภาครัฐ ภาควิชาการในจังหวัดตรัง ทั้งจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง ศูนย์UDC-PSU ตัวแทนสมาคมข้าราชการบำนาญกระทรวงสาธารณสุข มีการทบทวนชุดประสบการณ์การดำเนินโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย โดยแบ่งกลุ่มกันร่วมแลกเปลี่ยนแต่ละมิติที่มีการดำเนินการ สำหรับตำบลนาชุมเห็ดร่วมแลกเปลี่ยนในมิติด้านเศรษฐกิจ ร่วมกับตัวแทนจากตำบลบางด้วน และเทศบาลตำบลคลองปาง พร้อมด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ จากสำนักงานวัฒนธรรม

 

0 0

16. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5

วันที่ 28 พฤษภาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการผู้สูงอายุ  คณะทำงานของโครงการ ผู้นำท้องถิ่น ผอ.รพสต.นาตาล่วง ทีม Node Flagship ตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นการพูดคุยการทำงาน ปัญหาอุปสรรคและการเป็นโมเดลของพื้นที่โครงการ ซึ่งคณะกรรมการ คณะทำงานได้เรียนรู้ ทบทวนปัญหา อุปสรรคและการหาแนวทางของการสร้างความยั่งยืนในพื้นที่ที่จะเดินต่อได้

 

19 0

17. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 3 (เดือนเมษายน พฤษภาคม)

วันที่ 28 พฤษภาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์  งวด 3 (เดือนเมษายน พฤษภาคม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์  งวด 3 (เดือนเมษายน พฤษภาคม)

 

1 0

18. กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 1

วันที่ 31 กรกฎาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการสรุปถอดบทเรียนครั้งที่ 1 มีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ คณะทำงานของโครงการ ท้องถิ่นและรพ.สต.นาตาล่วงในแง่มุมของการดำเนินโครงการในแง่มุมต่างๆที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการถอดบทเรียนการดำเนินโครงการมีปัจจัยภายนอกที่ทำให้การดำเนินกิจกรรมต้องชะงักคือการแพร่ระบาดของโรคโควิดและอีกปัจจัยคือในเชิงของคณะกรรมที่เกิดจากหยุดชะงักของโครงการส่งผลให้คณะทำงานขาดการมีปฎิสัมพันธ์ที่ทำให้กิจกรรมขาดการต่อเนื่อง

 

0 0

19. กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 2

วันที่ 7 สิงหาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมถอดบทเรียนโดยคณะกรรมการผู้สูงอายุร่วมกับคณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่วมพูดคุยถึงปัญหาและการแก้ไขการทำงานที่ผ่านมาจากการสรุปบทเรียนที่ได้รับการแก้ไข เช่น การพบกันของคณะทำงานที่ขาดการปฏิสัมพันธ์เมื่อมาพบกันทำให้เกิดความมั่นใจในการทำงานมากขึ้นและโครงการได้ดำเนินงานต่อ

 

0 0

20. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6

วันที่ 5 กันยายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมคณะกรรมการและคณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นการประชุมเพื่อรายงานความก้าวหน้าของโครงการ  รายงานทางการเงิน และเป็นการสะท้อนผลลัพธ์ของแต่ละกิจกรรม

 

19 0

21. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7

วันที่ 12 กันยายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานและNode ตรัง เพื่อปรับและเพิ่มกิจกรรมแผนงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเพิ่มกิจกรรมที่ 6 ซึง่เป็นการปรับสภาพแวดล้อม จากบ้านของคณะทำงาน 3 หลังโดยไม่ใช้งบ เป็นปรับสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุและคนพิการในวัดนำ้ผุดใต้

 

10 0

22. กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 3

วันที่ 26 กันยายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมถอดบทเรียนที่มี Nolde flagship ตรัง ท้องถิ่น คณะทำงานทั้งหมด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การทำงานที่ผ่านมาความสำเร็จที่เกิดจากความเข้มแข็งของคณะทำงานที่เกิดขึ้นจากชมรมที่สามารถเชื่อมโยงไปให้ท้องถิ่นได้เข้ามามีส่วนร่วมเพื่อนำไปสู่การเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของแผนหรือนโยบายที่ทำให้เกิดการต่อยอดที่ยั่งยืนแต่ส่วนของการทำงานที่ต้องปรับคือส่วนของการสร้างความมีส่วนร่วม การประสานงาน ความสมำ่เสมอ มีความต่อเนื่องกับทุกฝ่ายตั้งแต่เริ่มต้นการทำงาน

 

0 0

23. กิจกรรมที่ 5 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์

วันที่ 30 กันยายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

การทำสื่อเพื่อการเผยแพร่โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีสื่อเผยแพร่โครงการเตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยนาตาล่วงให้ประชาชนในชุมชนได้เข้าใจถึงการเตรียมตัวในการรองรับสังคมสูงวัยอย่างเท่าทัน

 

0 0

24. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ

วันที่ 1 ตุลาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ

 

0 0

25. กิจกรรมที่ 6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1

วันที่ 5 ตุลาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

การปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ วัดนำ้ผุดใต้ ตำบลนาตาล่วง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วัดนำ้ผุดใต้ มีห้องนำ้สำหรับคนผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีความปลอดภัยและมีความสะดวกมากขึ้น เพราะได้รับการออกแบบที่เหมาะสมจากการแนะนำของผู้รู้ที่ชำนาญร่วมกับช่างชุมชน

 

0 0

26. กิจกรรมที่ 6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2

วันที่ 7 ตุลาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

การปรับปรุงทางลาดจุดจอดรถเข็นและราวจับทางเข้าห้องนำ้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การปรัััััััััััับสภาพทางเข้าห้องนำ้ซึ่งเป็นบริเวณด้านหน้าห้องนำ้ที่มีพื้นที่ขรุขระ ไม่เหมาะสมหากมีรถเข็นหรือผู้สูงอายุเดินเข้าห้องนำ้ จึงปรับสภาพด้วยการทำทางลาดยาวพร้อมราวจับที่อำนวยความสะดวกและเกิดความปลอดภัยกับผู้ใช้มากขึ้น

 

0 0

27. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานครั้งที่ 2

วันที่ 9 ตุลาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานครั้งที่ 2

 

0 0

28. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 10 ตุลาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

คืนเงินผู้จัดการโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คืนเงินผู้จัดการโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนากลไกการทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : 1.1 คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 1.2 มีฐานข้อมูลสูงวัยเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 1.3 มีการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 1.4 มีนโยบาย/แผนงาน/โครงการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยที่บรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบล
1.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : 1 กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและสูงวัยมีการความ เข้าใจการเตรียมรองรับสังคมร้อยละ 80 2.2กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและสูงวัยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นร้อยละ 20 2.3มีการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยปลอดภัยของสูงวัย อย่างน้อยจำนวน 6 หลัง 2.3 มีร้านค้าร้านน้ำชาร่วมกิจกรรมนาตาล่วงอ่อนหวานอย่างน้อย 2 ร้าน 2.3 กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีจำนวนลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 2.4 มีสมาชิกกองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลนาตาล่วง เพิ่มขึ้นร้อย 20 2.5 กลุ่มเตรียมรองรับสังคมสูงวัยมีการออมเพิ่มมากขึ้นร้อยละ 30 2.6 มีกลุ่มเตรียมรองรับสังคมสูงวัยอายุน้อยกว่า 60 ปีสมัครเป็นสมาชิกชมรมสูงวัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ผู้มีอายุตั้งแต่60 ปีขึ้นไป 20
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ผู้มีอายุ 40-59 ปี 80

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนากลไกการทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (2) 2.เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (2) กิจกรรมที่ 2 สำรวจ/รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 2 ครั้ง (3) กิจกรรมที่ 1เพิ่มศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งให้คณะทำงานในการขับเคลื่อนรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง (4) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) (5) กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ (6) กิจกรรมที่  6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ (7) กิจกรรมที่ 5 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ (8) บัญชีธนาคาร (9) เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ณ ภูผายอดรีสอร์ท อ.ห้วยยอด จ.ตรัง (10) ประชุมคณะทำงานครั้งที่1 (11) กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 1 (12) กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สำรวจ/รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 1 (13) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม (14) กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สำรวจ/รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 2 (15) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org (16) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (17) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์  งวด 1 (เดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม) (18) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (19) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจากการดำเนินงานครั้งที่ 1 เตรียมรองรับสังคมสูงวัย (20) ถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (21) กิจกรรมที่ 3.1ส่งเสริมพัฒนาให้ความรู้เตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง (กลุ่มที่1) (22) กิจกรรมที่ 3.1ส่งเสริมพัฒนาให้ความรู้เตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง (กลุ่มที่2) (23) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (24) กิจกรรมที่ 3.2เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ :นาตาล่วงอ่อนหวาน (25) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์  งวด 2 (เดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) (26) เวทีถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพ จ.ตรัง (27) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 (28) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์  งวด 3 (เดือนเมษายน พฤษภาคม) (29) กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 2 (30) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 (31) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 (32) กิจกรรมที่ 4 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 3 (33) กิจกรรมที่ 5 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ (34) ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ (35) กิจกรรมที่  6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 (36) กิจกรรมที่  6 ปรับสภาพแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 (37) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานครั้งที่ 2 (38) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง

รหัสโครงการ 63001740021 ระยะเวลาโครงการ 30 กรกฎาคม 2020 - 10 ตุลาคม 2021

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การให้ความรู้แก่แกนนำที่เป็นคณะทำงานการเตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัย

เกิดแกนนำที่มีความรู้ ความเข้าใจในการเตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ อย่างน้อย 6 คน

การสร้างแกนนำที่อยู่ในวัยหรือกลุ่มวัยทำงานเพื่อการเตรียมตัวที่เ่ท่าทันในสูงวัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

-การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเป็นเรื่องใหม่ ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายและต้องสร้างความเข้าใจให้กับแกนนำ คณะทำงานร่วมถึงคนในชุมชน - คณะทำงานทำงานของโครงการ เป็นกลุ่มชมรมผู้สูงอายุ ฉะนั้นการเรียนรู้การทำงานที่เป็นลำดับขั้นตอน การใช้เทคโนโลยี่ถือเป็นสิ่งใหม่ที่ต้องเรียนรู้และจัดการ

  • ประชุมเพิ่มศักยภาพ และสร้างความรู้ ความเข้าใจให้คณะทำงานให้มีความเข้มแข็ง
  • ส่งเสริมพัฒนาให้ความรู้แก่คนในชุมชนเพื่อเตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ ( สุขภาพ/ สังคม/ เศรษฐกิจ/ สภาพแวดล้อม)

เพิ่มการประชาสัมพันธ์เรื่องการเตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัย ให้เข้าถึงกลุ่มที่เป็นวัยทำงาน ( 40ปีขึ้นไป)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

การให้ความรู้ของการเตรียมตัวในมิติต่างๆ การรณรงค์การลดอาหาร หวาน มัน เค็ม

การเกิดร้านอาหารในชุมชนที่มีป้ายเชิญชวนการทานหวานเลือกได้ การได้รับการตอบรับจากแหล่งอาหารหรือตลาดในชุมชน

การพัฒนาร่วมกับเครือข่ายเช่น รพสต ท้องถิ่น ที่ดำเนินการให้มีกิจกรรมหรือโครงการต่างๆที่รองรับสังคมสูงวัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การออกกำลังกายและการหันมาออมด้วยรูปแบบต่างๆ รวมถึงมีต้นแบบครอบครัวที่เป็นต้นแบบ 4 มิติ

1.กลุ่มออกกำลังกายในชุมชนที่เกิดขึ้น 2.ครอบครัวต้นแบบ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การเชิญชวนให้หันมาปรับพฤติกรรมการกินอาหาร

มีแกนนำที่ให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมของการกิน รวมถึงร้านอาหารที่มีในโครงการ

มีการเชื่อมโยงกับสาธารณสุขชุมชนเพื่อการดำเนินการต่อเนื่อง เช่น กาให้ความรู้เรื่องโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องฯลฯ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

จัดให้มีกลุ่มออกกำลังกายในชุมชน

มีกลุ่มออกกำลังกายในชุมชนอย่างน้อย 4 กลุ่ม ใน 6 ชุมชน

ประสานท้องถิ่นและผู้นำชุมชนเพื่อให้มีความยั่งยืนหรือสร้างแรงจูงใจแก่กลุ่ม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

การปรับสภาพแวดล้อมของบ้านและวัด

สภาพแวดล้อมของห้องนำ้ผู้สูงอายุและผู้พิการภายในวัดได้รับการพัฒนาที่ทำให้เกิดความปลอดภัยแก่กลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

การจัดทำธรรมนูญสุขภาพ

ธรรมนูญสุขภาพที่เกิดขึ้นจากการทำประชามติของชุมชน

การนำธรรมนูญสุขภาพไปสู่การปฏิบัติ

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การทำงานร่วมกันของเครื่อข่าย

เกิดคณะทำงานที่มีทั้งหลายเครือข่าย ทั้งท้องถิ่น รพ.สต ผู้นำชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลนาตาล่วง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740021

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุกัญญา ขุนทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด