stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปลาดุกสวรรค์บ้านศาลาไม้ไผ่
ภายใต้โครงการ Node Flagship จังหวัดพัทลุง
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ 63-00169-0013
วันที่อนุมัติ 1 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 77,675.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศุภกร หมวดมณี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายปะเทือง อมรวิริยะชัย
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.527503,100.047348place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2563 31 ต.ค. 2563 1 มิ.ย. 2563 31 ต.ค. 2563 31,070.00
2 1 พ.ย. 2563 30 ก.ย. 2564 1 พ.ย. 2563 30 ก.ย. 2564 38,838.00
3 1 ต.ค. 2564 30 ต.ค. 2564 7,767.00
รวมงบประมาณ 77,675.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ประชาชนนิยมเลือกซื้อในตลาดนัดมาปรุงอาหาร
132.00
2 ไม่ปลูกผักหรือเลี้ยงสัตว์ที่ใช้บริโภค
105.00
3 ในชุมชนมีตลาดนัด ขายของจำนวนวัน ต่อสัปดาห์
3.00
4 มีร้านค้าในชุมชน
7.00
5 ตรวจสารเคมีตกค้างในอาหารทะเล เช่น ปลา /ปลาหมึก/กุ้ง ในตลาดนัด พบสารฟอรมาลีน จำนวนชนิด
2.00
6 ปี 2561 มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง
1.00
7 ปี 2562 มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง
3.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ชุมชนบ้านศาลาไม้ไผ่ หมู่ที่ 8 ตำบลท่าแค อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง มีเนื้อที่โดยประมาณ 200 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนหลังคาเรือน 223 หลังคาเรือน ประชากร 670 คน มีอาชีพส่วนใหญ่คือทำนา 80 ครัวเรือน รองลงมาคือทำสวน 105 ครัวเรือน และรับจ้าง 42 ครัวเรือน มีตลาดนัด 1 แห่ง ขายทุกวันอังคาร วันพฤหัสบดี และวันเสาร์ มีร้านค้าในชุมชน จำนวน 7 ร้าน     สถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ชุมชนบ้านศาลาไม้ไผ่ ปัจจุบันปัญหาเรื่องอาหารที่ใช้บริโภคของคนในชุมชนไม่มีความปลอดภัย ซึ่งสาเหตุมาจากประชาชนนิยมเลือกซื้อในตลาดนัดมาปรุงอาหาร (132 ครัวเรือน) ไม่ปลูกผักหรือเลี้ยงสัตว์ที่ใช้บริโภค(105 ครัวเรือน) ประกอบกับในชุมชนมีตลาดนัด( 1 ตลาด /ขาย 3 วัน) และมีร้านค้าในชุมชน ( 7 ร้าน) ซึ่งมีความสะดวก แต่อาหารที่ประชาชนนำมาบริโภค ยังไม่มีความปลอดภัย และข้อมูลเมื่อปี 2562 ที่ รพ.สต. ได้ตรวจสารเคมีตกค้างในอาหารทะเล เช่น ปลา /ปลาหมึก/กุ้ง ในตลาดนัด พบสารฟอร์มาลีนปนเปื้อนในอาหารด้วย ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เมื่อปี 2561 มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง 1 คน ปี 2562 มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง 3 คน มีอัตราป่วยตายเพิ่มขึ้น     ดังนั้นจะต้องส่งเสริมให้คนในชุมชนหันมาผลิตอาหารโปรตีนกินเอง และสร้างสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น และให้คนในชุมชนเกิดความตระหนัก อยากแก้ปัญหาสุขภาพให้ดีขึ้น เพื่อให้คนในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม มีภาวะเสี่ยงและอัตราการป่วยลดลง โดยมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาคือให้มีกลไกการบริหารจัดการการผลิตอาหารโปรตีนที่ปลอดภัย/สร้างกระบวนการเรียนรู้การผลิตอาหารโปรตีนที่ปลอดภัย/ให้มีกติกาเฝ้าระวังติดตามการผลิตอาหารโปรตีนที่ปลอดภัย และให้ประชาชนได้บริโภคอาหารโปรตีนปลอดภัย     การดำเนินงานตามโครงการ จะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของ Node Flagship ที่ขับเคลื่อนให้ประเด็นสุขภาวะในระดับจังหวัดตามกรอบเป้าหมายระยะยาว Phatthalung Green City ได้รับการแก้ไขอย่างมีส่วนร่วมสามารถบรรลุเป้าหมายการมีอาหารที่ปลอดภัยก็จะนำมาสู่ผลลิตที่มากพอเป็นที่ต้องการของตลาดทำให้เศรษฐกิจของครัวเรือนดีขึ้น

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

เลี้ยงปลาดุกเพื่อบริโภคที่ปลอดภัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกิดกลไกการบริหารจัดการการเลี้ยงปลาดุกปลอดภัย

-มีคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน

-มีการแบ่งบทบาทหน้าที่

-มีแผนการดำเนินงาน

-มีการประชุมทุก 2 เดือน

-คณะทำงานมีความรู้การผลิตอาหารโปรตีนที่ปลอดภัย

2.00
2 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกที่ปลอดภัย

-มีสมาชิกกลุ่มเลี้ยงปลาดุกต่อเนื่อง 30 ครัวเรือน

-มีการผลิตอาหารปลาดุกลดต้นทุนได้อย่างน้อย 50 %

-มีกลุ่มในการแปรรูปปลาดุก

4.00
3 เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการเลี้ยงปลาดุกที่ปลอดภัย

-มีกติกาในการเลี้ยงปลาดุกที่ปลอดภัย

-มีการติดตามเยี่ยมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุก 2 เดือน

3.00
4 เพื่อให้เกิดต้นแบบการเลี้ยงปลาดุกปลอดภัย

-กระบวนการเลี้ยงปลาดุกของสมาชิกผ่านเกณฑ์มาตรฐานขั้นปลอดภัย (Safety Level) ร้อยละ 70 % ของบ่อเลี้ยงทั้งหมด

-การเลี้ยงปลาดุกมีอัตราการรอดของปลา ร้อยละ 70

1.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 121
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ประชาชนทั่วไป 80 -
มีคณะทำงาน 11 -
มีสมาชิกกลุ่มเลี้ยงปลาดุก 30 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 338 77,675.00 22 70,565.00
20 มิ.ย. 63 ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือ หน่วยจัดการระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 เวทีปฐมนิเทศ โครงการย่อยภายใต้หน่วยจัดการระดับจังหวัด 3 5,000.00 200.00
2 ก.ค. 63 ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม 1 1,000.00 1,000.00
4 ก.ค. 63 ประชุมคณะทำงานทุก 2 เดือน ครั้งที่ 1 11 2,375.00 1,275.00
29 ส.ค. 63 ประชุมคณะทำงานและติดตามเยี่ยมทุก 2 เดือน ครั้งที่ 2 11 0.00 275.00
9 ก.ย. 63 การเตรียมวัตถุดิบและเตรียมพื้นที่ผลิตวัตถุดิบ 30 6,000.00 6,000.00
14 ก.ย. 63 อบรมให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลาดุกที่ปลอดภัย/ปฎิบัติการเลี้ยงปลาดุก ครั้งที่ 1 30 21,400.00 10,700.00
7 ต.ค. 63 ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือ หน่วยจัดการระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 ร่วมกิจกรรมเวทีสานงาน เสริมพลังชุมชนน่าอยู่ สู่ พัทลุง GREEN CITY 3 0.00 200.00
25 ต.ค. 63 ประชุมคณะทำงานและติดตามเยี่ยมทุก 2 เดือนครั้งที่ 3 11 0.00 275.00
28 ต.ค. 63 นำคณะทำงานและสมาชิกกลุ่มศึกษาดูงานการเลี้ยงปลาดุก/การผลิตอาหารปลาดุก 26 14,700.00 14,700.00
31 ต.ค. 63 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ 1 1,000.00 500.00
14 พ.ย. 63 ตรวจเอกสารปิดงวด 1 3 0.00 200.00
19 พ.ย. 63 เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ครั้งที่ 1 20 1,000.00 500.00
19 ธ.ค. 63 อบรมให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลาดุกที่ปลอดภัย/ปฎิบัติการเลี้ยงปลาดุก ครั้งที่ 2 30 0.00 10,700.00
6 ม.ค. 64 การแปรรูปปลาดุก 30 15,000.00 14,240.00
8 ม.ค. 64 นำผลิตภัณฑ์ปลาดุกวางขายในตลาดชุมชน 1 500.00 500.00
20 มี.ค. 64 ประชุมคณะทำงานและติดตามเยี่ยมทุก 2 เดือน ครั้งที่ 4 11 0.00 275.00
17 เม.ย. 64 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม 0 3,900.00 3,900.00
5 มิ.ย. 64 ประชุมคณะทำงานและติดตามเยี่ยมทุก 2 เดือน ครั้งที่ 5 11 0.00 275.00
19 มิ.ย. 64 เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ครั้งที่ 2 20 0.00 500.00
26 มิ.ย. 64 คืนข้อมูลให้กับชุมชน 80 4,800.00 3,350.00
7 ส.ค. 64 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ 1 0.00 500.00
4 ก.ย. 64 ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ 1 1,000.00 -
4 ก.ย. 64 ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือ หน่วยจัดการระดับจังหวัด ครั้งที่ 3 3 0.00 -
30 ก.ย. 64 ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 0 0.00 500.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

จะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของ Node Flagship ที่ขับเคลื่อนให้ประเด็นสุขภาวะในระดับจังหวัดตามกรอบเป้าหมายระยะยาว Phatthalung Green City ได้รับการแก้ไขอย่างมีส่วนร่วมสามารถบรรลุเป้าหมายการมีอาหารที่ปลอดภัยก็จะนำมาสู่ผลลิตที่มากพอเป็นที่ต้องการของตลาดทำให้เศรษฐกิจของครัวเรือนดีขึ้น

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 2563 13:53 น.